ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง...

19
ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร หน้า 1 จาก 9 FM-RI-FC-01 Rev.3 กฎระเบียบและมาตรฐานอาหารต่างประเทศ: ประกาศ (Prakas) ประเทศกัมพูชา เรื่อง มาตรฐานการแสดงฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร เผยแพร่เดือนกันยายน 2556 ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง มาตรฐานการแสดงฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร (Prakas on Standard CS 001-2000 Labelling of Food Product) รายละเอียด : ข้อกาหนดการแสดงฉลาก กลุ่มอาหาร : สินค้าอาหาร ลาดับขั้นกฎหมาย : ประกาศ หัวข้อสาคัญ : - วันที่ออกประกาศ : 28 ธันวาคม 2543 วันที่บังคับใช้ : 29 ธันวาคม 2543 วันที่ปรับปรุงล่าสุด : -

Transcript of ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง...

Page 1: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร

หน้า 1 จาก 9

FM-RI-FC-01 Rev.3

กฎระเบียบและมาตรฐานอาหารตา่งประเทศ: ประกาศ (Prakas) ประเทศกัมพูชา เรื่อง มาตรฐานการแสดงฉลากผลติภณัฑ์อาหาร

เผยแพร่เดือนกันยายน 2556

ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง มาตรฐานการแสดงฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร

(Prakas on Standard CS 001-2000 Labelling of Food Product)

รายละเอียด : ข้อก าหนดการแสดงฉลาก กลุ่มอาหาร : สินค้าอาหาร ล าดับขั้นกฎหมาย : ประกาศ หัวข้อส าคัญ : - วันที่ออกประกาศ : 28 ธันวาคม 2543 วันที่บังคับใช ้ : 29 ธันวาคม 2543 วันที่ปรับปรุงล่าสุด : -

Page 2: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร

หน้า 2 จาก 9

FM-RI-FC-01 Rev.3

กฎระเบียบและมาตรฐานอาหารตา่งประเทศ: ประกาศ (Prakas) ประเทศกัมพูชา เรื่อง มาตรฐานการแสดงฉลากผลติภณัฑ์อาหาร

ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง มาตรฐานการแสดงฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร (Prakas on Standard CS 001-2000 Labelling of Food Product)

บังคับใช้ วันที ่29 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2543

- ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรกัมพูชา - ตามพระราชกฤษฎีกา เลขที่ / 1198 / 72 ลงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2541 ว่าด้วยการแต่งตั้งของ

กษัตริย์แห่งราชอาณาจักรกัมพูชา - ตาม Royal Kram เลขที่ / 0196 / 05 ลงวันที่ 24 มกราคม 2542 ว่าด้วยการจัดตั้งกระทรวง

อุตสาหกรรม เหมืองแร่ และพลังงาน - ตาม Royal Kram เลขที่ 0600 / 001 ลงวันที่ 21 มิถุนายน 2543 บอกกล่าวการใช้กฎหมายว่าด้วย

คุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ สินค้า และบริการ - ตาม Royal Kram เลขที่ 35 ลงวันที่ 26 เมษายน 2542 ว่าด้วยองค์กรและหน้าที่ของกระทรวง

อุตสาหกรรม เหมืองแร่ และพลังงาน - ตามพระราชกฤษฎีกาย่อย เลขท่ี 04 ลงวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2535 ว่าด้วยการจัดการคุณภาพและการ

ควบคุมหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม - ตามประกาศ เลขที่ 963 ลงวันที่ 29 พฤศจิกายน 2542 ว่ าด้ วยการจดทะเบียน

ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมของกระทรวงอุตสาหกรรม เหมืองแร่ และพลังงาน - อ้างถึงสถานการณ์ปัจจุบัน

ข้อก าหนด

มาตรา 1: เพ่ือสร้างมาตรฐานอุตสาหกรรมซีเอส 001-2000 ของกัมพูชาว่าด้วยการติดฉลากอาหารบรรจุหีบห่อทั้งหมดเพ่ือน าเสนออาหารดังกล่าวแก่ผู้บริโภค งานบริการจัดเตรียมอาหารและเพ่ือวัตถุประสงค์บางประการที่เกี่ยวข้องกับการน าเสนอดังกล่าว มาตรา 2: ทุกบริษัท รัฐวิสาหกิจ และงานหัตถกรรมจะต้องติดฉลากอาหารทั้งหมดก่อนบรรจุ เ พ่ือให้สอดคล้องกับมาตรฐานซีเอส 001-2000 ตามท่ีระบุไว้ในภาคผนวกแนบท้าย

Page 3: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร

หน้า 3 จาก 9

FM-RI-FC-01 Rev.3

กฎระเบียบและมาตรฐานอาหารตา่งประเทศ: ประกาศ (Prakas) ประเทศกัมพูชา เรื่อง มาตรฐานการแสดงฉลากผลติภณัฑ์อาหาร

มาตรา 3: กฎระเบียบ ข้อบังคับก่อนหน้านี้ทั้งหมด ซึ่งไม่สอดคล้องกับประกาศนี้ถือว่าไม่มีผลบังคับ มาตรา 4: ประกาศนี้จะมีผลบังคับใช้นับจากวันที่ลงนามในประกาศนี้ เพ่ือให้ราชอาณาจักรกัมพูชาได้รับศักยภาพเพียงพอในการบริหารจัดการและพัฒนาอุตสาหกรรม และเพ่ือตอบสนองความรุดหน้าของการค้าเสรี กระทรวงอุตสาหกรรม เหมืองแร่ และพลังงานจึงได้สร้างส านักงานมาตรฐานอุตสาหกรรมไอเอสซี (ISC) กัมพูชาขึ้น เพ่ือวัตถุประสงค์ในการรวบรวมมาตรฐานและให้ความร่วมมือกับหน่วยงานมาตรฐานอ่ืน ๆ ทั้งในและนอกประเทศ รวมทั้งองค์กรระดับภูมิภาคเกี่ยวกับองค์การว่าด้วยมาตรฐานสากล มาตรฐานไอเอสโอ (ISO) ราชอาณาจักรกัมพูชาได้รับให้เป็นสมาชิกขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานสากลไอเอสโอ (ISO) ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2538 (1995) ขณะที่ราชอาณาจักรกัมพูชาเป็นสมาชิกอาเซียน การรวบรวมมาตรฐานอุตสาหกรรมต่าง ๆ เป็นงานหนึ่งที่ส าคัญในท่ามกลางหมู่งานอ่ืน ๆ ที่ส าคัญของกระทรวงอุตสาหกรรม เหมืองแร่ และพลังงาน เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนสินค้าจากการค้าในประเทศและต่างประเทศ และเพ่ือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะท าให้ผลิตภัณฑ์ประจ าปีเพ่ิมมากขึ้น อันเป็นผลจากการค้าขาย การสนับสนุน และความต้องการของผู้บริโภคที่ได้ให้ทัศนคติเชิงบวกเก่ียวกับสุขภาพของประชาชน ส านักงานมาตรฐานอุตสาหกรรมกัมพูชา กระทรวงอุตสาหกรรม เหมืองแร่ และพลังงานได้ปฏิบัติตามข้อก าหนดทั่วไปว่าด้วยการติดฉลากอาหารบรรจุหีบห่อเพ่ือผู้บริโภคในราชอาณาจักรกัมพูชาปฏิบัติตาม ทั้งนี้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์และข้อบังคับของสินค้าซึ่งก็คือผลิตภัณฑ์อาหาร ข้อก าหนดทั่วไปว่าด้วยการติดฉลากอาหารบรรจุหีบห่อได้จัดเตรียมขึ้นภายหลังที่ราชอาณาจักรกัมพูชาได้พบและยอมรับตามมาตรฐานสากล และท าการวิจัยค้นคว้าถึงความต้องการที่ชัดเจน แน่นอน และตามประสบการณ์ต่าง ๆ

1. ขอบเขต

มาตรฐานได้น าไปใช้กับการติดฉลากสินค้าบรรจุหีบห่อทั้งหมด เพ่ือน าเสนอฉลากดังกล่าวไปยังผู้บริโภค หรือเพ่ือจุดประสงค์การจัดการอาหารและบางแง่มุมที่เกี่ยวข้องกับการน าเสนอดังกล่าว

2. ความหมายของค าศัพท์ตามวัตถุประสงค์ของมาตรฐานนี้ - ผู้บริโภค หมายถึง บุคคลหรือกลุ่มที่ซื้อหรือรับอาหารเพ่ือตอบสนองความต้องการส่วนบุคคล - ภาชนะ หมายถึง บรรจุภัณฑ์ใด ๆ ของอาหารส าหรับดูแลรักษาขณะจัดส่งเป็นหน่วยเดียว ไม่ว่าจะปิด

ล้อมอาหารทั้งหมดหรือบางส่วน รวมถึงการห่อหุ้มด้วย ภาชนะอาจห่อหุ้มบรรจุภัณฑ์หลายหน่วยหรือหลายประเภท เมื่อมีการเสนอขายให้แก่ผู้บริโภค

- วันทีผ่ลิต หมายถึง วันที่อาหารจะกลายเป็นผลิตภัณฑ์ตามท่ีอธิบายไว้ - วันทีบ่รรจุ หมายถึง วันที่อาหารได้วางลงในภาชนะโดยทันที ซึ่งอาหารจะได้ขายในท่ีสุด

Page 4: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร

หน้า 4 จาก 9

FM-RI-FC-01 Rev.3

กฎระเบียบและมาตรฐานอาหารตา่งประเทศ: ประกาศ (Prakas) ประเทศกัมพูชา เรื่อง มาตรฐานการแสดงฉลากผลติภณัฑ์อาหาร

- วันที่ใช้บริโภค (แนะน าวันบริโภคสุดท้าย, วันหมดอายุ) หมายถึง วันที่ระบุช่วงเวลาที่คาดว่าจะหมดอายุ ภายใต้เงื่อนไขการเก็บรักษาใด ๆ ซึ่งหลังจากนั้นผลิตภัณฑ์อาจจะไม่มีคุณภาพตามคุณลักษณะปกติตามที่ผู้บริโภคพึงคาดว่าจะได้รับ โดยหลังจากวันนี้อาหารไม่ควรน าเอากลับมาซื้อขายได้อีก

- ช่วงอายุการเก็บรักษา (วันหมดอายุ) หมายถึง วันที่สิ้นสุดของช่วงระยะเวลา ภายใต้เงื่อนไขการเก็บรักษาในระหว่างที่ผลิตภัณฑ์ยังคงซื้อขายกันได้อยู่ และจะยังคงมีคุณสมบัติเฉพาะใด ๆ ที่ยังคงรักษาสภาพอาหารได้โดยปริยาย อย่างไรก็ตาม หากเกินวันหมดอายุไปแล้ว อาหารอาจยังคงเป็นที่น่าพอใจอยู่

- อาหาร หมายถึง สารใด ๆ ไม่ว่าจะผ่านกระบวนการ กึ่งกระบวนการ หรือวัตถุดิบซึ่งมีไว้ส าหรับการบริโภคของมนุษย์ รวมถึงเครื่องดื่ม หมากฝรั่ง และสารใด ๆ ที่ใช้ในการผลิต การจัดเตรียมหรือการดูแลรักษา "อาหาร" แต่ไม่รวมถึงเครื่องส าอาง หรือยาสูบ หรือสารที่ใช้เป็นยาเสพติด

- สารเติมแต่งอาหาร หมายถึง สารใด ๆ ที่ตามปกติไม่ได้บริโภคเป็นอาหารด้วยตัวเอง และตามปกติไม่ได้ใช้เป็นส่วนผสมของอาหารไม่ว่าจะมีคุณค่าทางโภชนาการหรือไม่ แต่เจตนาที่จะใช้กับอาหารเพ่ือวัตถุประสงค์ทางเทคโนโลยี (รวมถึงประสาทสัมผัส) การผลิต กระบวนการ การเตรียมการ การบ ารุงรักษา การบรรจุ บรรจุภัณฑ์ การขนส่งหรือเก็บรักษาอาหารดังกล่าว หรืออาจจะเป็นส่วนที่จะก่อผลให้ (โดยตรงหรือโดยอ้อม) ในตัวเอง หรือผลิตภัณฑ์กลายเป็นส่วนประกอบของหรืออ่ืน ๆ ที่มีผลต่อลักษณะของอาหารนั้น ความหมายของค านี้ไม่รวมถึง “สิ่งปนเปื้อน” หรือสารที่เพ่ิมในอาหารเพ่ือดูแลรักษาหรือปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการ

- ส่วนผสม หมายถึง สารใด ๆ รวมทั้งสารเติมแต่งอาหารที่ใช้ในการผลิตหรือการเตรียมความพร้อมของอาหาร และในปัจจุบันผลิตภัณฑ์ในขั้นสุดท้ายถึงแม้ว่าอาจจะอยู่ในรูปแบบการแก้ไข

- ฉลาก หมายถึง แถบป้าย ยี่ห้อ ภาพหรืออ่ืน ๆ ที่มีเนื้อหาบรรยาย ลายลักษณ์อักษร พิมพ์ ลายฉลุ เครื่องหมายนูน หรือประทับบน หรือแนบมากับภาชนะบรรจุอาหาร

- การติดฉลาก รวมถึงการเขียน พิมพ์ หรือกราฟิกที่น าเสนอบนฉลากมาพร้อมกับอาหารหรือจะปรากฏอยู่ใกล้อาหาร รวมทั้งเพ่ือวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมการขายหรือการจ าหน่าย

- หมายเลขรุ่นการผลิตสินค้า หมายถึง การก าหนดปริมาณสินค้าที่ได้รับการผลิตขึ้นภายใต้เงื่อนไขเดียวกัน

- ผลิตภัณฑ์บรรจุหีบห่อ (บรรจุภัณฑ์ส าเร็จรูป) หมายถึง บรรจุภัณฑ์หรือที่ท าไว้ล่วงหน้าในรูปภาชนะพร้อมน าเสนอให้กับผู้บริโภค หรือเพ่ือวัตถุประสงค์ในงานบริการจัดเตรียมอาการ

- สารช่วยในกระบวนการผลิต หมายถึง สารหรือวัสดุไม่รวมถึงอุปกรณ์หรือเครื่องใช้ในครัว และไม่รวมถึงที่ใช้บริโภคที่เป็นส่วนผสมอาหารในตัวเอง ซึ่งจะใช้เฉพาะในกระบวนการของวัตถุดิบอาหารหรือส่วนผสมอาหาร เพ่ือตอบสนองวัตถุประสงค์ทางเทคโนโลยีบางอย่างในระหว่างการดูแลรักษาหรือกระบวนการ และที่อาจให้ผลเองโดยไม่ได้ตั้งใจ แต่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงจากสารตกค้างหรืออนุพันธ์ต่างๆ ในการผลิตขั้นตอนสุดท้าย

Page 5: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร

หน้า 5 จาก 9

FM-RI-FC-01 Rev.3

กฎระเบียบและมาตรฐานอาหารตา่งประเทศ: ประกาศ (Prakas) ประเทศกัมพูชา เรื่อง มาตรฐานการแสดงฉลากผลติภณัฑ์อาหาร

- อาหารส าหรับงานบริการจัดเตรียมอาหาร หมายถึง บรรดาอาหารส าหรับใช้ในร้านอาหาร โรงอาหาร โรงเรียน โรงพยาบาล และสถาบันที่คล้ายกัน ซึ่งอาหารจะได้รับการจัดเตรียมไว้เพ่ือสามารถบริโภคได้ทันท ี

3. หลักท่ัวไป ภาชนะอาหารจะต้องไม่อธิบายหรือน าเสนอบนฉลากหรือในการติดฉลากใด ๆ ในลักษณะที่เป็นเท็จ ท าให้เข้าใจผิด หรือหลอกลวง หรือมีลักษณะเป็นการสร้างความชื่นชอบที่ไม่ถูกต้องเก่ียวกับตัวอักษรในแง่ต่าง ๆ 4. ข้อบังคับการติดฉลากอาหารบรรจุหีบห่อ ผลิตภัณฑ์อาหารบรรจุหีบห่อแต่ละชนิดจะต้องติดฉลาก ซึ่งให้ข้อมูลที่ชัดเจนและเพียงพอต่อผู้ริโภคและเจ้าหน้าที ่ข้อมูลต่อไปนี้จะต้องปรากฏบนฉลากอาหารบรรจุหีบห่อตามอาหารที่จะต้องติดฉลาก 4.1 ชื่อของอาหาร ชื่อจะต้องแสดงถึงธรรมชาติที่แท้จริงของอาหาร และจะต้องบ่งบอกลักษณะต่าง ๆ ต่อไปนี้อยู่เสมอ

- ชื่อที่มาหรือชื่อที่เป็นมาตรฐานตั้งขึ้นมาส าหรับอาหารอย่างน้อยหนึ่งในชื่อเหล่านี้จะต้องน ามาใช้ - ในกรณีอ่ืน ๆ ชื่อที่ตั้งข้ึนโดยบทบัญญัติกฎหมายของประเทศจะต้องน ามาใช้ - ชื่อใหม่ที่จะใช้แทนชื่อตามปกติทั่วไปจะต้องอธิบายตามความเหมาะสม ซึ่งจะได้ไม่ท าให้เข้าใจผิดหรือ

เกิดความสับสนแก่ผู้บริโภค - ชื่อใหม่ที่สามารถน ามาใช้เป็นชื่อผลิตภัณฑ์ได้ - ชื่อของผลิตภัณฑ์อาหารสามารถเพ่ิมเติมค าหรือวลีไว้บนฉลากได้ ในกรณีที่ไปสอดคล้องกับหรือ

ใกล้เคียงกับผลิตภัณฑ์อ่ืน ๆ ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงความเข้าใจผิด หรือท าให้เกิดความสับสนแก่ผู้บริโภคในเรื่องธรรมชาติที่แท้จริงและสภาพทางกายภาพของอาหาร รวมถึงแต่ไม่จ ากัดเฉพาะประเภทของวิธีการบรรจุรูปแบบและเงื่อนไขหรือประเภทของการดูแลรักษา

- ในกรณีที่มีความจ าเป็นจะต้องระบุลักษณะทางกายภาพของผลิตภัณฑ์ อาทิ ความแห้ง ความเข้มข้น สร้างข้ึนใหม่ และผ่านการรมควัน

- ชื่อของผลิตภัณฑ์จะต้องเขียนเป็นตัวหนา และขนาดของตัวอักษรจะต้องเหมาะสมกับขนาดของกระดาษหรือพ้ืนผิวที่จะติดฉลาก

4.2 เครื่องหมายการค้า

เครื่องหมายการค้า คือ รูปวาดที่ผู้บริโภคจะต้องเห็นได้ชัดเจน และจะต้องให้รู้ถึงความแตกต่างของแต่ละผลิตภัณฑ์ การใช้เครื่องหมายการค้าจะต้องสอดคล้องกับกฎระเบียบ ข้อบังคับท่ีได้รับอนุญาตแล้ว

Page 6: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร

หน้า 6 จาก 9

FM-RI-FC-01 Rev.3

กฎระเบียบและมาตรฐานอาหารตา่งประเทศ: ประกาศ (Prakas) ประเทศกัมพูชา เรื่อง มาตรฐานการแสดงฉลากผลติภณัฑ์อาหาร

4.3 รายการส่วนผสม ยกเว้นอาหารที่มีส่วนผสมรายการเดียว รายการของส่วนผสมจะต้องประกาศบนฉลากโดยเรียงล าดับจากน้ าหนัก (m/m) ปริมาณ (v/v) หรือร้อยละ (%) ส่วนผสมที่เป็นของผลิตภัณฑ์เองที่มีส่วนผสมตั้งแต่สองหรือมากกว่า เช่น ส่วนผสมสสารจะต้องแสดงไว้ เช่นนี้ในรายการส่วนผสมนั้นจะต้องแสดงสสารที่เป็นส่วนผสมไว้พร้อมกันเลย โดยแสดงไว้ในวงเล็บของส่วนผสมนั้นตามล าดับสัดส่วน วิตามินหรือแร่ธาตุที่เพิ่มเติมทั้งหมดจะต้องแสดงไว้ในรายการส่วนผสม ผลิตภัณฑ์ทั้งหมดที่มีสารประกอบที่ระบุไว้ด้านล่างนี้จะต้องแสดงไว้ในรายการส่วนผสม - โซเดียมคลอไรด์/เกลือ - โซเดียมไนเตรต - โซเดียมไนเตรต/โพแทสเซียม - โมโนโซเดียมกลูตาเมต /ผงชูรส - ชื่อเรียกเฉพาะส าหรับสารให้ความหวานที่ไม่มีชื่อในทางโภชนาการ น้ าที่เพ่ิมเติมจะต้องแสดงในรายการส่วนผสม ยกเว้นเมื่อน้ าเป็นส่วนหนึ่งของส่วนผสม เช่น น้ าเกลือ น้ าเชื่อม หรือน้ าซุปที่ใช้เป็นส่วนประกอบอาหาร น้ าหรือส่วนผสมที่เป็นสารระเหยอ่ืน ๆ ที่ใช้เป็นขั้นตอนการผลิตไม่จ าเป็นต้องแสดงไว้ในรายการส่วนผสม สารที่ระบุต่อไปนี้ไม่จ าเป็นต้องแสดงไว้ในรายการส่วนผสม - สารเจือปนอาหารซึ่งท าหน้าที่เป็นสารช่วยในกระบวนการผลิต - สารเจือปนอาหารส าหรับใช้ในการรักษากลิ่นหอมและระยะเวลาให้ยาวนาน และสารให้สีซึ่งอาจ

อยู่ในผลิตภัณฑ์ 4.4 ส่วนประกอบสุทธิและน้ าหนักทั้งหมด

ส่วนประกอบสุทธิของผลิตภัณฑ์จะต้องแสดงในลักษณะดังต่อไปนี้ 1. ส าหรับอาหารเหลวจะต้องแสดงในหน่วยปริมาณเป็น “ลิตร” (ล.) หรือมิลลิลิตร (มล.) 2. ส าหรับอาหารแข็งจะต้องแสดงในหน่วยน้ าหนักเป็น “กิโลกรัม” (กก.) หรือมิลลิกรัม (มก.) 3. ส าหรับอาหารกึ่งของแข็งหรือหนืดจะต้องแสดงทั้งหน่วยน้ าหนักหรือหน่วยปริมาณ

- จะต้องมีการแสดงหน่วยของจ านวนหีบห่อ ขวด ชิ้น หรือโหลไว้บนลังไม้ กล่องหรือหีบห่อขนาดใหญ่

- ส าหรับผักกระป๋องหรือผลไม้กระป๋องซึ่งมีน้ าบรรจุด้วย จะต้องแสดงน้ าหนักสุทธิของผักหรือผลไม้เพียงอย่างเดียว

- ส่วนประกอบสุทธิของผลิตภัณฑ์อาหารบางชนิดจะไม่แสดงไว้บนฉลาก เช่น o ลูกกวาดซึ่งมีน้ าหนักน้อยกว่า 20 กรัม o แยมผลไม้ซึ่งมีน้ าหนักน้อยกว่า 50 กรัม o ผลิตภัณฑ์อาหารทั้งหมดที่มีส่วนประกอบน้อยกว่า 5 กรัม หรือ 5 มิลลิกรัม ยกเว้น

เครื่องเทศและกลิ่นหอมในพืช

Page 7: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร

หน้า 7 จาก 9

FM-RI-FC-01 Rev.3

กฎระเบียบและมาตรฐานอาหารตา่งประเทศ: ประกาศ (Prakas) ประเทศกัมพูชา เรื่อง มาตรฐานการแสดงฉลากผลติภณัฑ์อาหาร

4.5 ชื่อและท่ีอยู ่ชื่อและที่อยู่ของผู้ผลิต เครื่องบรรจุหีบห่อ ตัวแทนจัดจ าหน่าย ผู้น าเข้า-ส่งออก หรือผู้ขายอาหารจะต้องแสดงไว้

4.6 ประเทศแหล่งก าเนิด แหล่งที่มาของอาหารหรือประเทศต้นก าเนิดของอาหารจะต้องแสดงไว้ เพ่ือหลีกเลี่ยงความเข้าใจผิดหรือการหลอกลวงผู้บริโภคถึงแหล่งที่มาหรือสถานที่อันเป็นต้นก าเนิดของอาหาร เมื่ออาหารผ่านกระบวนการในประเทศท่ีสองซึ่งสภาพของผลิตภัณฑ์ได้เปลี่ยนแปลงไป ประเทศนั้นจะได้รับการพิจารณาให้เป็นประเทศต้นก าเนิดหรือแหล่งก าเนิดซึ่งจะต้องแสดงไว้บนฉลากอาหาร

4.7 หมายเลขรุ่นการผลิตของผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์อาหารแต่ละชนิดจะต้องแสดงหมายเลขรหัสบนฉลากอาหารหรือบรรจุภัณฑ์อาหารอย่างถาวร เพ่ือบ่งชี้การผลิตของผลิตภัณฑ์ และผู้ผลิตเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดท าหมายเลขรุ่นการผลิตของผลิตภัณฑ์ อย่างไรก็ตามเจ้าหน้าที่จะต้องสังเกตเห็นได้โดยง่าย

4.8 วัน เดือน ปีท่ีผลิตหรือหมดอายุและค าแนะน าการเก็บรักษา วัน เดือน ปีที่ผลิตหรือหมดอายุของผลิตภัณฑ์จะต้องแสดงไว้ดังต่อไปนี้

ก) ผลิตภัณฑ์อาหารจะต้องแสดงว่าผลิตภัณฑ์นั้นสามารถเก็บกลิ่น สี รส คุณภาพ และความปลอดภัยในระยะเวลาที่จ ากัด - วันและเดือนส าหรับผลิตภัณฑ์ที่มีอายุการจัดเก็บต่ าสุดไม่เกินสามเดือน - เดือนและปสี าหรับผลิตภัณฑ์ที่มีอายุการจัดเก็บต่ าสุดมากกว่าสามเดือน ข) วันที่จะต้องแสดงค าต่อไปนี้ - วันที่ผลิต............(วันของผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการผลิต) - วันที่บรรจุภัณฑ์ ............(วันของผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการบรรจุ) - วันที่หมดอายุ.................(วันของผลิตภัณฑ์ที่หมดอายุแล้ว) - ควรบริโภคก่อน ...........หรือควรบริโภคก่อนหมดอายุ.............(ช่วงอายุการเก็บรักษา/วัน

หมดอายุ) ค) วัน เดือน และปีจะต้องแสดงตัวเลขเป็นล าดับ ยกเว้นเดือนอาจระบุเป็นตัวอักษรซึ่งจะไม่สร้างความสับสนต่อผู้บริโภค ง) อาหารบางอย่างอาจจะไม่ได้รับอนุญาตให้แสดงวันหมดอายุในอาหารบางอย่างตามที่ระบุไว้ด้านล่าง: - ผักสด ผลไม้ และเหง้าพืชที่มีต้นก าเนิดตามธรรมชาติของมัน - ไวน์ทุกชนิด - เครื่องดื่มที่มีส่วนประกอบของแอลกอฮอล์มากกว่า 10% - น้ าส้มสายชู เกลือส าหรับอาหาร น้ าตาลทรายขาว ไอศกรีม ลูกกวาด หมากฝรั่ง - ผลิตภัณฑ์ขนมปัง ซึ่งปกติจะเก็บได้ภายใน 24 ชั่วโมงเท่านั้น จ) นอกจากวันที่ก่อนหมดอายุแล้ว เงื่อนไขพิเศษใด ๆ ของอาหารจะต้องแสดงไว้บนฉลากด้วย ส าหรับวันหมดอายุนั้นขึ้นอยู่กับผลิตภัณฑ์

Page 8: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร

หน้า 8 จาก 9

FM-RI-FC-01 Rev.3

กฎระเบียบและมาตรฐานอาหารตา่งประเทศ: ประกาศ (Prakas) ประเทศกัมพูชา เรื่อง มาตรฐานการแสดงฉลากผลติภณัฑ์อาหาร

4.9 ค าแนะน าการใช้ ผู้ผลิตจะไม่จัดท าค าแนะน าการใช้ก็ได้ แต่ในกรณีที่จ าเป็นจะต้องจัดท าวิธีการใช้ รวมถึงเงื่อนไขหรือขอบเขตการใช้ทั้งหมดซึ่งสามารถใช้ได้จะต้องแสดงไว้บนฉลาก ข้อมูลที่จ าเป็นจะต้องแนะน าการใช้อาหารให้ชัดเจน

5. รายการข้อบังคับเพิ่มเติม 5.1 การติดฉลากปริมาณส่วนผสม

บริเวณท่ีติดฉลากอาหารที่ให้ความส าคัญเป็นพิเศษเกี่ยวกับการแสดง สรรพคุณ และหรือคุณลักษณะพิเศษของส่วนผสม หรือบริเวณที่รายละเอียดอาหารมีผลอย่างเดียวกัน อัตราส่วนที่เป็นเปอร์เซ็นต์ของสารผสม (m/m) ณ เวลาผลิตจะต้องมีการแสดงไว้ด้วย

5.2 อาหารฉายรังสี ฉลากอาหารที่ผ่านกระบวนการฉายรังสีจะต้องระบุไว้เป็นลายลักษณ์อักษร แสดงวิธีการไว้บริเวณใกล้เคียงกับชื่อของอาหาร ใช้สัญลักษณ์การฉายรังสีอาหารนานาชาติที่แสดงไว้ด้านล่างนี้

เมื่อผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการฉายรังสีถูกน ามาใช้เป็นส่วนผสมในอาหาร เช่นนี้จะต้องแสดงไว้ในรายการของส่วนผสมด้วย เมื่อผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมเดียวที่เตรียมจากวัตถุดิบซึ่งได้รับการฉายรังสี ฉลากของผลิตภัณฑ์จะต้องประกอบด้วยข้อความที่ระบุวิธีการดูแลรักษา

6. ข้อยกเว้นจากข้อบังคับการติดฉลาก จากข้อยกเว้น เครื่องเทศและสมุนไพร หน่วยผลิตภัณฑ์ขนาดเล็กที่มีพ้ืนที่ผิวที่ใหญ่ที่สุดน้อยกว่า 10

ตารางเซนติเมตร (cm2) อาจได้รับการยกเว้นจากข้อบังคับตามที่ระบุไว้ในวรรค 4.2 และ 4.6-4.8

7. รูปแบบการติดฉลาก

ข้อมูลหรือเครื่องหมายภาพใด ๆ ที่มีความส าคัญจะได้รับอนุญาตให้แสดงบนฉลากอาหารได้ หากข้อมูล เครื่องหมายภาพนั้นไม่ขัดแย้งกับข้อก าหนดที่บังคับใช้ตามมาตรฐานนี้ และข้อบังคับอ่ืนที่เกี่ยวข้องกับการเรียกร้องและการหลอกลวงที่ก าหนดไว้ในส่วนที่ 3 – หลักการทั่วไป ต าแหน่งที่ใช้จะต้องท าให้เข้าใจ อ่านได้ง่าย และไม่ท าให้เข้าใจผิด หรือเป็นการหลอกลวงในทางใดทางหนึ่ง

Page 9: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

ศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร สถาบันอาหาร

หน้า 9 จาก 9

FM-RI-FC-01 Rev.3

กฎระเบียบและมาตรฐานอาหารตา่งประเทศ: ประกาศ (Prakas) ประเทศกัมพูชา เรื่อง มาตรฐานการแสดงฉลากผลติภณัฑ์อาหาร

8. การน าเสนอข้อมูลภาคบังคับ 8.1 ทั่วไป

ข้อความที่แสดงจะต้องปรากฏบนฉลากตามที่ก าหนดไว้ในมาตรฐานนี้อย่างชัดเจน โดดเด่น คงทน และผู้บริโภคสามารถเห็นได้ง่าย ชัดเจน ตามเงื่อนไขทั่วไปที่มีการซื้อขายและใช้งาน ผลิตภัณฑ์ที่ภาชนะบรรจุได้รับการห่อหุ้มไว้หรือแพ็กเพ่ิมเติม และการติดฉลากอาหารอยู่ด้านในของหีบห่อหรือในแพ็ก จะต้องเป็นข้อมูลที่จ าเป็นหรือใช้สัญลักษณ์ที่สามารถอ่านได้ง่าย หีบห่อหรือแพ็กที่ห่อหุ้มอยู่ด้านนอกหรือความหมายของข้อมูลที่จ าเป็น จะต้องไม่มีความหมายตรงข้ามกับความหมายของฉลากข้อมูลที่ติดอยู่ด้านใน ชื่อและส่วนปะกอบสุทธิของอาหารจะต้องแสดงในต าแหน่งที่โดดเด่นและในรูปแบบประเภทเดียวกัน

8.2 ภาษา ผลิตภัณฑ์ทั้งหมดท่ีผลิตขึ้นในท้องถิ่นส าหรับใช้ในท้องถิ่นจะต้องเขียนเป็นภาษาเขมรไว้บนฉลาก โดยอาจจะได้รับอนุญาตให้เขียนเป็นภาษาต่างประเทศเพ่ิมเติม เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส จีน ฯลฯ ซึ่งขนาดของตัวอักษรอาจจะมีขนาดเล็กกว่าตัวอักษรเขมร ส าหรับผลิตภัณฑ์ที่น าเข้าจะต้องเขียนหรือติดภาษาเขมร ซึ่งผู้ใช้สามารถยอมรับได้ ข้อมูลที่จ าเป็นซึ่งเขียนในภาษาเขมรจะต้องมีความหมายตามฉลากเดิมอย่างถูกต้อง

8.3 ข้อห้ามเกี่ยวกับฉลากผลิตภัณฑ์ - จะต้องไม่เขียนสิ่งที่ท าให้ผู้ใช้เกิดความสับสนกับผลิตภัณฑ์ - จะต้องไม่แสดงสิ่งที่ท าให้ผู้ใช้เกิดความสับสนกับเนื้อหาและน้ าหนักของผลิตภัณฑ์ - จะต้องไม่แสดงคุณภาพผลิตภัณฑ์ที่เป็นผลิตภัณฑ์อันดับหนึ่งก่อนที่จะได้รับอนุญาตและออก

ใบรับรองว่าผ่านการยอมรับแล้วจากเจ้าหน้าที่ - จะต้องไม่เขียนหรือเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์อาหารให้เป็นยารักษาโรคเพ่ือรักษาอาการเจ็บป่วย

ยกเว้นผลิตภัณฑ์น้ าแร่เท่านั้น

************* ฐานข้อมูลกฎหมายมาตรฐานอาหาร เว็บไซต์ศูนย์อัจฉริยะเพ่ืออุตสาหกรรมอาหาร:

http://fic.nfi.or.th

Page 10: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

Kingdom of Cambodia Nation Religion King

3 Ministry of Industry, Mines and Energy No. 1045 ]rfb]>Rbk Phnom Penh, 28 December 2000

PRAKAS ON

CAMBODIAN STANDARD CS 001-2000 LABELLING OF FOOD PRODUCT

3

MINISTER OF INDUSTRY, MINES AND ENERGY

- Seen the Constitution of the Kingdom of Cambodia - Seen the Royal Decree Nº ns ¼ rkm ¼ 1198 / 72 dated 30 November 1998 on the appointment of the Roya t of the Kingdom of Cambodia. l Governmen- Seen the Royal Kram Nº ns ¼ rkm ¼ 0196 / 05 dated 24 January 1999 on establishment of the Ministry of Industry, Mines and Energy. - Seen the Royal Kram Nº ns ¼ rkm ¼ 0600 / 001 dated 21 June 2000 noticed for using the Law on quality and safe ucts, goods and services. ty of prod- Seen the Royal Kram Nº 35 GnRk>Rbk dated 26 April 1999 on the organization and functioning of the Ministry of Industry, Mines and Energy. - Seen the Sub-Decree Nº 04 GnRk dated 26 February 1992 on Quality Management and Control of t and Industrial products. handicraf- Seen the Prakas Nº 963 nb>Rbk dated 29 November 1999 on Industrial Product Registration of the Ministry of Industry, Mines and Energy. - Refer to the current situation.

DECIDES

Article 1: To establish the Industrial Standards of Cambodia CS001-2000 on the

labelling of all pre-packaged foods to be offered as such to consumer as for catering purpose and to certain aspects relating to the presentation thereof.

Page 11: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

Article 2: All companies, enterprises and handicrafts shall label all pre-packaged foods in conformity with the standard CS001-2000 as stated in the enclosed annexe.

Article 3: All previous regulations, which are inconsistent with this Prakas, shall

be considered null and void. Article 4: This Prakas shall take effect from this date of signature. C.C: - Cabinet of Council of Ministers - Cabinet of Samdech Prime Minister

(For information) - Ministry of Interior - Ministry of Economy and Finance - Ministry of Commerce - Ministry of Health Suy Sem - Ministry of Agriculture, Forestry and Fishery - Ministry of Information - Ministry of Justice - All Municipal Office - Municipal Departments of Industry, Mines and Energy (For implementation) - Document-Archives

Page 12: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

Foreword

In order to make the Kingdom of Cambodia receives sufficient competence in management and development on industrialization, and to fulfill the potentiality of free trade, Ministry of Industry, Mines and Energy has established Industrial Standards Bureau of Cambodia abbreviated ISC in the purposes of standard compilations and cooperation with other standards bodies, both inside and outside country, including Regional Organization for Standardization and International Organization for Standardization (ISO). Kingdom of Cambodia has been as a subscriber member of International Organization for Standardization (ISO) since 01 January 1995. While Kingdom of Cambodia has been as a member of ASEAN, the compilation of industrial standards is one essential task amongst other essential tasks of Ministry of Industry, Mines and Energy in order to facilitate goods on a national and international trade and to improve efficiently product quality which will bring the annual increase of productions by receiving effective trade, facilitating and the requirements of consumers by giving positively to public health. Industrial Standards Bureau of Cambodia of Ministry of Industry, Mines and Energy has compiled general standards for the labelling of prepackaged foods for the consumers in the Kingdom of Cambodia to use according to purposes and requirements of goods, which are food products. The standard of the labelling of prepackaged foods is prepared by adopting the international standards and by researching the definite requirement and the experience after Kingdom of Cambodia has met.

Page 13: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

Cambodian Standards

CS 001:2000 ON

THE LABELLING OF PREPACKAGED FOOD 1. Scope

The standard applies to the labelling of all prepackaged goods to be offered as such to consumer or for catering purposes and to certain aspects relating to the presentation thereof.

2. Definition of Terms for the purpose of this standards

- Consumer means person or another group purchasing or receiving food in

order to meet their personal needs. - Container means any packaging of food for delivery maintenance as a single

item, whether by completely or partially enclosing the food and includes wrappers. A container may enclose several units or types of packages when such is offered to the consumer.

- Date of Manufacture means the date on which the food becomes the product as described.

- Date of Packaging means the date on which the food is placed in the immediate container in which it will be ultimately sold.

- Use-by date (Recommended last Consumption Date, Expiration date) means the date which signifies the end of the estimated period under any stated storage conditions, after which the product probably will not have the quality attributes normally expected by the consumers. After this date, the food should not be regarded as marketable.

- Date of Minimum Durability (Best before) means the date which signifies the end of period under any stated storage conditions during which the product will remain fully marketable and will retain any specific qualities for which tacit or express claims have been made. However, beyond the date the food may still be perfectly satisfactory.

- Food means any substance, whether processed, semi-processed or raw, which is intended for human consumption, and includes drinks, chewing gum, and any substance which has been used in the manufacture, preparation or treatment of “food” but does not include cosmetics or tobacco or substance used only as drugs.

- Food additive means any substance not normally consumed as a food by itself and not normally used as a typical ingredient of food, whether or not it has nutritive value, the intentional addition of which to food for a technological (including organoleptic) purpose in the manufacture, processing, preparation, treatment, packing, packaging, transport or holding of such food results, or may be reasonable expected to result, (directly or indirectly) in it or its-by products becoming a component of or otherwise affecting the characteristics of such foods. The term does not include “contaminant “or substance added to food for maintaining or improving nutritional qualities.

- Ingredient means any substance, including a food additive, used in the manufacture or preparation of a food and present in the final product although possibly in a modified form.

Page 14: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

- Label means any tag, brand, pictorial or other descriptive matter, written, printed, stenciled, marked, embossed, or impressed on, or attached to, a container of food.

- Labelling includes any written, printed or graphic matter that is present on the label, accompanies the food, or is displayed near the food, including that for the purpose of promoting its sale or disposal.

- Lot means a definitive quantity of a commodity produced essentially under the same conditions.

- Prepackaged means packaged or made up in advance in a container, ready for offer to the consumer, or for catering purposes.

- Processing Aid means a substance or material, not including apparatus or utensils, and not consumed as a food ingredient by itself, intentionally used in the processing of raw materials, foods or its ingredients, to fulfill a certain technological purpose during treatment or processing and which may result in the non-intentional but unavoidable presence of residues or derivatives in the final product.

- Foods for Catering Purposes mean those foods for use in restaurants, canteens, schools, hospitals, and similar institutions where food is offered for immediate consumption.

3. General Principles

Packaged food shall not be described or presented on any label or in any labelling in a manner that is false, misleading or deceptive or is likely to create an erroneous impression regarding its character in any respect.

Prepackaged food shall not be described or presented on any label or in any labelling by word, pictorial or other devices which refer to or are suggestive either directly or indirectly, of any other product with which such food might be confused, or in such manner as to lead the purchaser or consumer to suppose that the food is connected with such other product.

4. Mandatory Labelling of Prepackaged Foods

Each prepackaged food product shall be labeled to give clear and enough information to consumers and authorized officials.

The following information shall appear on the label of prepackaged foods as the food being labeled.

4.1 The Name of the Food

The name shall indicate the true nature of the food and normally be specific as the following types:

- Where a name or names have been established for a food in the

standard, at least one of these names shall be used. - In other cases, the name prescribed by national legislation shall be used - Where a new name to be used instead of a common or usual name shall

be described appropriate term, which was not misleading or confusing to the consumer.

- A new name can be used as a product name. - A name of food product can be added words or phrases on the label,

either in conjunction with or in close proximity to other product, shall be avoided misleading or confusing the consumer in regard to the true nature and physical condition of food including but not limited to the type of

Page 15: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

packing medium, style, and the condition or type of treatment it has undergone.

- Where is necessary, it shall specify physical condition of product, for example: dried, concentrated, reconstituted, and smoked.

- A name of the product shall be written in bold letter and the size of letter shall be appropriate to the size of paper or surface, which will be labeled.

4.2 Trade Mark

Trademark is a drawing that shall be seen clearly by consumer and shall be known the difference of each product. The use of trademark shall be conformed with the rule of authorized body.

4.3 List of Ingredients Except for single ingredient foods, a list of ingredients shall be declared on the label by descending order of ingoing weight (m/m), Volume (v/v) or percent (%).

Where an ingredient is itself the product of two or more ingredients, such a compound ingredient may be declared, as such, in the list of ingredients provided that it is immediately accompanied by a list in brackets of its ingredients in descending order of proportion

All added vitamins or minerals shall be declared in the list of ingredients.

All products, which have substances as in below, shall be declared in the list of ingredients:

- Sodium chloride/salt - Sodium Nitrate - Sodium/Potassium Nitrate - Monosodium Glutamate/MSG - Specific names for non-nutritive sweeteners

Added water shall be declared in the list of ingredients except when the water forms a part of an ingredient such as brine, syrup or broth used in a compound food. Water or other volatile ingredients evaporated in the course of manufacture needs not be declared in the list of ingredients.

No need to be declared in the list of ingredients as below:

- food additives which serve as processing aids - food additives for keeping the aromas and a long time, and the additives

giving color, which can be in the products.

4. 4 Net Contents and Drained Weight The net contents of products shall be declared in the manner as below:

1. for liquid foods shall be declared in volume units such as liter (l) or milliliter (ml)

Page 16: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

2. for solid foods shall be declared in weight units such as Kilogram (Kg) or milligram (mg)

3. for semi-solid or viscous foods shall be declared in either weight units or volume units.

- there shall be declared units of number of packets, bottles, pieces or dozens on the crate, cases or any big packet.

- for vegetable cans or fruit cans, which contain water, shall be declared the net weight of the vegetable or the fruit only.

- the net content of some food products shall not be declared such as o bonbons which is its weight less than 20g o fruit preserves which is its weight less than 50g o all food products which have the content less than 5g or 5ml

except the spices and aroma plants 4.5 Names and Address

The name and address of the manufacturer, packer, distributor, importer, exporter or vendor of the food shall be declared.

4.6 Country of Origin

The source of food or the country of the food origin shall be declared to avoid misleading or deceiving the consumer of the source or place of the food origin.

When a food undergoes processing in a second country, which changes its nature, the country shall be considered to be the country of origin or the source of origin that shall be declared on the food labelling.

4.7 Lot number of product

Each food product shall be declared permanently in a code number on the food labelling or the food packaging for identifying the manufacture products, and in a lot number of product to be taken responsible by the manufacturer, in any case, and to be easy for authorized officials to observe.

4.8 Date Marking and Storage Instructions The date marking of products shall be declared as following: a- the food product shall be declared that it can keep aroma, color, flavor,

quality and safety in the limited durability. - the day and the month for products with a minimum durability of the

storage is not more than three months - the month and the year for products with a minimum durability of the

storage is more than three months. b- The date shall be declared by words: - The production date ............(the day of the product being produced) - The packaging date ............(the day of the product being packaged ) - The expiry date ................. (the day of the product expired) - Best before ........... or best before end .............( the day of

minimum durability).

Page 17: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

c- the day, month and year shall be declared in numerical sequence except

that the month may be indicated by letters, which will not confuse the consumer.

d- It could be permitted not to be declared the date of minimum durability on

some foods such as below: - fresh vegetable, fruits and bulbs, which are in the origin of its nature; - all kind of wines; - beverages containing more than 10% by volume of alcohol; - vinegar, food grade salt, white sugar, ice-cream, bonbons, chewing gum; - kind of bread products which are normally to keep for use in 24 hours

only; e- In addition to the date of minimum durability, any special conditions of the

food shall be declared on the label if the validity of the date depends thereon.

4.9 Instructions for Use

A producer might not make instructions of use, but in necessary case shall make instructions of use, including all conditions or places, which can be used, on the label. Necessary information shall instruct clearly the use of the food.

5. Additional Mandatory Requirements

5.1 Quantitative Labelling of Ingredients Where the labelling of a food places special emphasis on the presence of one or more valuable and/or characterizing ingredients, or where the description of the food has the same effect, the ingoing percentage of the ingredient (m/m) at the time of manufacture shall be declared. Similarly, where the labelling of a food places special emphasis on the low content of one or more ingredients, the percentage of the ingredient (m/m) in the final product shall be declared.

5.2 Irradiated Foods The label of a food which has been treated with ionizing radiation shall carry a written statement indicating that treatment in close proximity to the name of the food. The use of the international food irradiation symbol, as shown below

Page 18: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

When an irradiated product is used as an ingredient in another food, this shall be so declared in the list of ingredients. When a single ingredient product is prepared from a raw material which has been irradiated, the label of the product shall contain a statement indicating the treatment.

6. Exemption from Mandatory Labelling Requirements

With the exception of spices and herbs, small units, where the largest surface area is less than 10 cm2, may be exempted from the requirements of paragraphs 4.2 and 4.6 to 4.8 . 7. Optional Labelling Any information or pictorial device which is important shall be permitted to display on the food labelling, if it is not in conflict with the mandatory requirements of this standard and those relating to claims and deception given in section 3 – General principle. The grade designations are used, they shall be readily understandable and not be misleading or deceptive in any way. 8. Presentation of Mandatory Information 8. 1 General

Statements required to appear on the label by virtue of this standard shall be clear, prominent, indelible and readily legible by consumer under normal conditions of purchase and use.

A product that its container is covered by a wrapper or an additional pack, and the food labelling is inside of the wrapper or the additional pack, the wrapper or the additional pack shall carry the necessary information or use a symbol that shall be readily legible through the outer wrapper or additional pack. The meaning of the necessary information shall not be opposite meaning to the meaning of the labelling information inside.

The name and the net contents of the food shall appear in a prominent position and in the same field of vision.

8.2 Language

All products, which are produced in the locality for local use, shall be written necessarily in Khmer language on the label. It may be permitted to write an additional foreign language such as English, French, Chinese etc. but the size of the letter shall be smaller than Khmer letter.

For imported products shall be written or stuck in Khmer language which can be accepted by users.

The necessary information written in Khmer language shall be fulfilled accurately regarding the original label.

Page 19: ประกาศประเทศกัมพูชา เรื่อง ...fic.nfi.or.th/law/upload/file1/2389_10KH_Labeling-Food...ศ นย อ จฉร ยะเพ ออ

8.3 Prohibition on Product Labelling

- Shall not be written what, which it makes users confuse with the products - Shall not be declared what, which it makes users confuse with the content

and weight of product. - Shall not be declared the quality of product that it is the good number one

before authorized body issues the certificate of the acceptance. - Shall not be written or changed the food products to the medicaments for

curing illness except the mineral water only.