164.115.41.179164.115.41.179/d756/sites/default/files/files... · Web view4. พ...

22
สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส-1 สสสสสสส 1 สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส 1. สสสสสสสสสสสสส 1) สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส 1. สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสส 2. สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส 3. สสสสสส สสสส สสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสส 4. สสสสสสสส สสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสส 5. สสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสส สสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส 6. สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส “สส สสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสส 2564” สส สสสสสส 1. สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส 2. สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส 3. สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส 4. สสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสสส

Transcript of 164.115.41.179164.115.41.179/d756/sites/default/files/files... · Web view4. พ...

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง-9

ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์การ

1. ลักษณะองค์การ

1) พันธกิจหรือหน้าที่ตามกฎหมาย

อำนาจหน้าที่ตามกฎกระทรวง

1. จัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพในเขตพื้นที่จังหวัด

2. ดำเนินการและให้บริการด้านการแพทย์และการสาธารณสุขในเขตพื้นที่จังหวัด

3. กำกับ ดูแล ประเมินผล และสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานสาธารณสุขในเขตพื้นที่จังหวัด เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามกฎหมาย มีการบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและมีการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ

4. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานเกี่ยวกับงานสาธารณสุขในเขตพื้นที่จังหวัด ให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวง

5. พัฒนาระบบสารสนเทศ งานสุขศึกษา และการสื่อสารสาธารณะด้านสุขภาพในเขตพื้นที่จังหวัด

6. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

พันธกิจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทองเพื่อนำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ “คนอ่างทองสุขภาพดี ด้วยระบบบริการที่มีคุณภาพ โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ภายในปี 2564” มีดังนี้

1. เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายในการจัดการสุขภาพประชาชน

2. พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล

3. พัฒนาระบบบริหารและระบบบริการสุขภาพ

4. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพ

ตารางที่ P1-1 สินค้าและบริการ

สินค้าหลัก

ช่องทางการส่งมอบ

คุณค่าหรือประโยชน์

1. การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ

(จัดทำแผน/ถ่ายทอดแผน/ควบคุมกำกับ)

1.1 ประชุม/อบรม

1.2 หนังสือราชการ

1.3 นิเทศติดตาม

1.1 ประชาชนมีสุขภาพดีขึ้น

1.2 ประชาชนมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดเพิ่มขึ้น

2. การบริการด้านการแพทย์และ

สาธารณสุขที่มีคุณภาพ

2.1 การจัดบริการในหน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับ

2.2 การจัดบริการเชิงรุกในพื้นที่

ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ

ทั้งด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพและคุ้มครองผู้บริโภค

3. ข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศสาธารณสุข

3.1 social media ต่างๆ เช่น Web ของหน่วย/Line/Face book

3.2 การประชุม/อบรม

3.3 สื่อสิ่งพิมพ์

ประชาชนได้รับข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ

ทำให้มีองค์ความรู้และเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเอง

4. บริการองค์ความรู้ นวัตกรรมด้านสุขภาพ

4.1 social media ต่างๆ เช่น Web ของหน่วย/Line/Face book

4.2 การประชุม/อบรม

4.3 คู่มือการปฏิบัติงาน

บุคลากรมีการใช้องค์ความรู้และนวัตกรรม ในการแก้ปัญหาสุขภาพประชาชนในพื้นที่ได้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล

5. พิจารณาออกใบอนุญาตด้านสาธารณสุข

ทีมออกตรวจประเมินตามเกณฑ์และออกใบอนุญาต

ประชาชนได้อุปโภค บริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีความปลอดภัย

2) วิสัยทัศน์ค่านิยม สสจ.อ่างทอง ได้ประกาศวิสัยทัศน์เป้าประสงค์ ค่านิยม ดังตารางที่ P1-2

ตารางที่ P1-2 วิสัยทัศน์เป้าประสงค์หลักค่านิยม และวัฒนธรรมองค์การ

วิสัยทัศน์ (Vision)

คนอ่างทองสุขภาพดี ด้วยระบบบริการสุขภาพที่ดีมีคุณภาพ โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ภายในปี 2564

เป้าประสงค์หลัก (Goals)

1. ประชาชนสุขภาพดี

2. เจ้าหน้าที่มีความสุข

3. ระบบสุขภาพยั่งยืน

ค่านิยม (Value)

MOPH :

M : Mastery เป็นนายตัวเอง

O : Originality เร่งสร้างสิ่งใหม่

P: People-centered approach ใส่ใจประชาชน

H : Humility ถ่อมตนอ่อนน้อม

วัฒนธรรมองค์กร (Culture)

ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง

สมรรถนะหลัก

1. เครือข่ายการทำงานที่เข้มแข็ง

2. การจัดบริการที่มีคุณภาพมาตรฐานตั้งแต่ระดับปฐมภูมิ ถึงตติยภูมิ ครอบคลุมประชาชนทุกช่วงชีวิต

3. การจัดระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสาธารณสุข

4. สร้างนวัตกรรม และงานวิจัย เพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาด้านสุขภาพ

3) ลักษณะโดยรวมของบุคลากร

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง มีบุคลากรรวมทั้งสิ้น 2,256 คน แบ่งเป็นเพศหญิงร้อยละ 75.89 เพศชาย ร้อยละ 24.11 ประกอบด้วย 2 สายงานคือ สายงานหลัก ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาล นักวิชาการสาธารณสุข นักกายภาพบำบัด นักรังสีการแพทย์ นักเทคนิคการแพทย์ ฯลฯ คิดเป็นร้อยละ 63.56 และสายงานสนับสนุน เช่น นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นักทรัพยากรบุคคล นักวิชาการเงินและบัญชี ฯลฯ คิดเป็นร้อยละ 36.44 บุคลากรส่วนใหญ่เป็นข้าราชการถึงร้อยละ 59.57 อายุงานเฉลี่ย 21.11 ปี อายุเฉลี่ย 44.67 ปี รองลงมา คือพนักงานกระทรวงสาธารณสุขร้อยละ 17.82 อายุงานเฉลี่ย 8.91 ปี อายุเฉลี่ย 40.23 ปีลูกจ้างชั่วคราวร้อยละ 13.70 อายุงานเฉลี่ย 5.21 ปี อายุเฉลี่ย 29.94 ปีลูกจ้างประจำร้อยละ 6.29 อายุงานเฉลี่ย 28.32 ปี อายุเฉลี่ย 54.56 ปีและน้อยสุดเป็นพนักงานราชการ ร้อยละ 2.62 อายุงานเฉลี่ย 5.30 ปี อายุเฉลี่ย 36.28 ปีการศึกษาส่วนใหญ่ของบุคลากรในภาพรวม ระดับปริญญาตรี ร้อยละ 57 รองลงมาระดับต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 37.54 ระดับปริญญาโท ร้อยละ 5.41 และน้อยที่สุดระดับปริญญาเอก ร้อยละ 0.07

มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจำบ้าน จำนวน 5,414 คนแบ่งเป็นเพศหญิงร้อยละ 74.36 เพศชาย ร้อยละ 25.64 ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับระดับต่ำกว่าปริญญาตรี ร้อยละ 97.12 ดังตารางที่ P1-3

ตารางที่ P1-3 บุคลากรสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง จำแนกตามประเภทบุคลากร ระดับการศึกษา เพศ อายุเฉลี่ยและอายุงานเฉลี่ย

ประเภท

จำนวน

ประเภทสายงาน

ระดับการศึกษา(คน)

เพศ (คน)

อายุเฉลี่ย

(ปี)

อายุงานเฉลี่ย (ปี)

สายงานหลัก

สายงานสนับสนุน

<ป.ตรี

ป.ตรี

ป.โท

ป.เอก

ชาย

หญิง

1. ข้าราชการ

1,344

1,290

54

223

999

121

1

255

1,089

44.67

21.11

2. ลูกจ้างประจำ

142

0

142

128

14

0

0

58

84

54.56

28.32

3. พนักงานราชการ

59

13

46

3

55

1

0

12

47

36.28

5.3

4. ลูกจ้างชั่วคราว

309

93

216

192

117

0

0

74

235

29.94

5.21

5. พนักงานกระทรวง สาธารณสุข

402

38

364

301

101

0

0

145

257

40.23

8.91

รวม

2,256

1,434

822

847

1,286

122

1

544

1,712

41.14

16.8

6. อาสาสมัครสาธารณสุข

5,248

-

-

5,258

153

3

0

1,388

4,026

50-60

10-20

ตารางที่ P1-4 ปัจจัยที่มีผลต่อการให้ความร่วมมือของแต่ละประเภทบุคลากร

ประเภทบุคลากร

ปัจจัยที่มีผลต่อการให้ความร่วมมือ

1. ข้าราชการ

ความก้าวหน้าในสายวิชาชีพ การแต่งตั้งโยกย้าย เลื่อนระดับ

การประเมินผลปฏิบัติราชการ การเลื่อนเงินเดือน ที่โปร่งใส เป็นธรรม

2. ลูกจ้างประจำ

สวัสดิการหลังเกษียณอายุ ความครอบคลุมในการรักษาพยาบาล

3. พนักงานราชการ

สภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดี เงินเดือนที่เหมาะสมสวัสดิการที่ดี

4. ลูกจ้างชั่วคราว

ผลประโยชน์ตอบแทนที่เพียงพอ และความมั่นคงของการทำงาน สวัสดิการที่ดี

5. พนักงานกระทรวงสาธารณสุข

สภาพแวดล้อมในการทำงานที่ดี เงินเดือนที่เหมาะสม สวัสดิการที่ดี

4) สินทรัพย์

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง มีอาคารสถานบริการ อุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ที่สำคัญ และมีเทคโนโลยีด้านสุขภาพที่ทันสมัย รวมทั้งอุปกรณ์สิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ ที่สำคัญในการบริหารจัดการการให้บริการ และการปฏิบัติงาน ดังตารางที่ P1-5

ตารางที่ P1-5 อาคารสถานที่ เทคโนโลยี และอุปกรณ์สิ่งอำนวยความสะดวก

สถานบริการ

1) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 7 แห่ง 2) สถานบริการระดับตติยภูมิ ได้แก่ โรงพยาบาลทั่วไป 1 แห่ง 3) สถานบริการระดับทุติยภูมิ ได้แก่ โรงพยาบาลชุมชน 6 แห่ง 4) สถานบริการระดับปฐมภูมิ ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 76 แห่ง และศูนย์สุขภาพชุมชนเขตเมือง 2 แห่ง

สิ่งอำนวยความสะดวก

รถ Ambulance สำหรับโรงพยาบาลทุกแห่ง, สถานที่จอดรถยนต์สำหรับผู้พิการ ผู้สูงอายุ, ห้องน้ำสำหรับผู้พิการ ผู้สูงอายุ, ทางลาดสำหรับผู้พิการผู้สูงอายุ, ห้องประชุมขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก, Tele-conference /Video conference, ลิฟท์สำหรับเคลื่อนย้ายผู้ป่วยส่วนกลางมีห้องสมุด, โรงอาหาร, ร้านค้าบริการอาหารเครื่องดื่ม, Fitness, ตู้ ATM, บ้านพัก /แฟลต, สนามกีฬา

เทคโนโลยี

เทคโนโลยีทางการแพทย์ ได้แก่ การส่องกล้องวินิจฉัยระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินปัสสาวะ การผ่าตัดรักษาผ่านกล้อง(Laparoscoe) เช่น การผ่าตัดไซนัส ผ่าตัดต่อมลูกหมากผ่าตัดซ่อมเอ็นเข่าผ่านกล้อง ผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดี

ระบบ Video Conference, ระบบ HDC, ระบบฐานข้อมูล 43 แฟ้ม, ระบบ GIS Health, ระบบ Web Service, ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิค, ระบบรายงานคืนข้อมูล, ระบบส่งข้อมูล, ระบบตรวจสอบข้อมูล

อุปกรณ์

ที่ใช้ในการบริหารจัดการระบบข้อมูลข่าวสาร ได้แก่ คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) ระบบสำรองข้อมูล (External Hardisk), UPS ระบบการป้องกันการบุกรุกข้อมูลจากภายนอก (Firewall) สิทธิในการเข้าถึงข้อมูล (User Level) เครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์แบบพกพา, Printer, เครื่อง Scanner, Fax

ชุดเครื่องมือ/อุปกรณ์ในการรักษาพยาบาลด้านศัลยกรรมกระดูกและข้อ ด้านอายุรกรรม ด้านจักษุ ด้านสูตินรีเวชกรรม ด้านโสต ศอ นาสิก ด้านทันตกรรม ด้านวิสัญญีวิทยา ด้านรังสีวินิจฉัย เช่น ครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT Scanner) เครื่องช่วยหายใจ (Ventilator) เครื่องตรวจหัวใจด้วยคลื่นความถี่สูง (Echocardiography) เครื่องตรวจคลื่นหัวใจ (EKG/ECG machine)(EKG 12 leads) เครื่องวัดติดตามสัญญาณชีพ (MonitoringEKG) เครื่องกระตุกหัวใจ (Defibrirator) เครื่องกระตุ้นหัวใจ (pace maker) เครื่องอัลตร้าซาวด์ (Ultrasound) เครื่องวัดความความดันโลหิตเครื่องวัดออกซิเจน (Pulse oximeter) เครื่องดูดเสมหะ (Suction) เครื่องพ่นยา (Nebulizer) รถเข็น (Wheelchair) เครื่องถ่ายภาพจอประสาทตา (Fundus Camera) เครื่องตรวจคัดกรองการได้ยิน (Otoacoustic Emissions:OAE) เครื่องเลเซอร์ตาเครื่องสลายต้อกระจกด้วยอัลตร้าซาวด์ (Phaco Machine) ตู้อบเด็กสำหรับลำเลียงทารกแรกเกิด (transport Incubator) เครื่องช่วยหายใจสำหรับทารกแรกเกิด ชนิดความถี่สูง (High frequency oscillatory ventilation:HFOV) เครื่องช่วยฟังเสียงหัวใจเด็กในครรภ์ (Doptone) เครื่องดมยาสลบชนิด 3 แก๊ส พร้อมเครื่องช่วยหายใจและเครื่องติดตามการทำงานของหัวใจและวิเคราะห์แก๊สระหว่างดมยาสลบเครื่องจี้ไฟฟ้า (Electrosurgery) เครื่องตรวจตรวจสมรรถภาพปอด (Spirometry) กล้องตรวจกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กส่วนต้น (Gastroscopy) กล้องตรวจลำไส้ใหญ่และทวารหนัก (Colonoscopy) เครื่องตรวจทางเดินปัสสาวะ Cystoscopy เครื่องช่วยตรวจช่องคลอด (Colposcopy) เครื่องตรวจลำไส้ใหญ่ส่วนปลาย (Sigmoidoscope) กล้องตรวจท่อทางเดินน้ำดีและตับอ่อน (ENDOSCOPIC RETROGRADE CHOLANGIOPANCREATOGRAPHY:ERCP) ตู้ผสมยาเคมี ISOLATOR เครื่องฟอกเลือดด้วยไตเทียม (Hemodialysis:HD) PACSSystem เครื่องขูดหินปูน เครื่อง AED

5) กฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับ

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง ดำเนินการภายใต้กฎหมาย กฎระเบียบ และข้อบังคับที่สำคัญ ประกอบด้วย ด้านการปฏิบัติงานตามภารกิจ ด้านบุคลากร ด้านข้อมูลข่าวสาร และด้านการกำกับดูแลองค์การที่ดี ดังตารางที่ P1-6

ตารางที่ P1-6 กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับที่สำคัญ

กฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ

เนื้อหาสาระสำคัญของกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ

ส่วนราชการที่ผู้รักษาการ

1. พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

ให้มีการควบคุม กำกับ ดูแล สถานประกอบการและผลิตภัณฑ์ยาให้มีคุณภาพ มาตรฐาน เพื่อความปลอดภัยในการใช้ยาของผู้บริโภค

กระทรวงสาธารณสุข

2. พ.ร.บ.คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

ควบคุม คุ้มครองผู้บริโภค

สำนักนายกรัฐมนตรี

3. พ.ร.บ.ยาเสพติด พ.ศ. 2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

ให้มีการควบคุม กำกับ ดูแล สถานประกอบการและผลิตภัณฑ์ยาเสพติด (ที่ใช้ทางการแพทย์) ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน เพื่อความปลอดภัยในการใช้ยาของผู้บริโภค

กระทรวงสาธารณสุข

4. พ.ร.บ.อาหาร พ.ศ. 2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

ให้มีการควบคุม กำกับ ดูแล สถานประกอบการและผลิตภัณฑ์อาหาร ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน เพื่อความปลอดภัยในการใช้ผลิตภัณฑ์อาหารของผู้บริโภค

กระทรวงสาธารณสุข

5. พ.ร.บ.วิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525

การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพการรักษาผู้ป่วย

แพทยสภา

6. พ.ร.บ.การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

ให้มีการคุ้มครองสุขภาพอนามัยของประชาชน โดยการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

กระทรวงสาธารณสุข

7. พรบ.การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560

ควบคุมการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ด้านการพัสดุ

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง

8. พ.ร.บ.วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

ให้มีการควบคุม กำกับ ดูแล สถานประกอบการและผลิตภัณฑ์วัตถุอันตราย ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน เพื่อความปลอดภัยในการใช้วัตถุอันตรายของผู้บริโภค

กระทรวงอุตสาหกรรม

9. พ.ร.บ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560

เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่ หน่วยงานราชการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้ใช้ประโยชน์ ในการควบคุมการบริโภคยาสูบ

กระทรวงสาธารณสุข

10. พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ. 2540

การเข้าถึงข้อมูลของประชาชน โดยสามารถติดตามและตรวจสอบการดำเนินงานของภาครัฐ ภายใต้สิทธิหน้าที่ในการรับรู้ข่าวสารตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540

สำนักนายกรัฐมนตรี

11. พ.ร.บ.ฟื้นฟูผู้เสพยาเสพติด พ.ศ. 2545

การบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพและผู้ติดยาเสพติด

กยธ.

12. พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551

เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่ หน่วยงานราชการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้ใช้ประโยชน์ ในการควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

กระทรวงสาธารณสุข

13. พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551

การบำบัดรักษาทางสุขภาพจิต

การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยทางการแพทย์และทางสังคม

กระทรวงสาธารณสุข

14. พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558

กวาดล้าง กำจัด ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญของประเทศ ด้วยระบบและเครือข่ายการทำงานที่เข้มแข็งรวมทั้งการมีส่วนร่วมของประชาชน

กระทรวงสาธารณสุข

15. พ.ร.บ.เครื่องสำอาง พ.ศ.2558

ให้มีการควบคุม กำกับ ดูแล สถานประกอบการและผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางให้มีคุณภาพ มาตรฐาน เพื่อความปลอดภัยในการใช้เครื่องสำอางของผู้บริโภค

กระทรวงสาธารณสุข

16. พ.ร.บ.สถานพยาบาล พ.ศ.2559

ควบคุมกำกับการดำเนินการสถานพยาบาลให้มีประสิทธิภาพและปลอดภัยแก่ผู้ป่วย

กระทรวงสาธารณสุข

17. พ.ร.บ.สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ.2559

สถานที่ที่ตั้งขึ้นเพื่อดำเนินการ กิจการสปา กิจการนวดเพื่อสุขภาพหรือเพื่อเสริมความงาม

กระทรวงสาธารณสุข

18. พ.ร.บ.การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551

การฝึกอบรม การค้นคว้า การบำบัดรักษาผู้ป่วยฉุกเฉิน การป้องกันการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นฉุกเฉิน

กระทรวงสาธารณสุข

6)โครงสร้างองค์กร

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง เป็นส่วนราชการบริหารส่วนภูมิภาคของกระทรวงสาธารณสุขในระดับจังหวัดมีการควบคุม กำกับ ดูแล ประสานงานและสนับสนุนการดำเนินงานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง โดยมีหน่วยงานในสายการบังคับบัญชาโดยตรง และสายการนิเทศและประสานงาน

ภาพที่ P1-7 โครงสร้างองค์การ การบริหารราชการส่วนภูมิภาคสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง

7) ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทองจำแนกกลุ่มผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ดังตารางที่ P1-8, P1-9

ตารางที่ P1-8 กลุ่มผู้รับบริการ

กลุ่มผู้รับบริการ

บริการที่ให้

ความต้องการ

ความคาดหวัง

แนวทางและวิธีการ

สื่อสารระหว่างกัน

1. กลุ่มประชาชนทั่วไป

- บริการด้านส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค

- การจัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี

- บริการข้อมูลข่าวสาร

- สุขภาพแข็งแรงไม่เป็นโรค

- ได้รับข่าวสารที่ถูกต้อง ทันเวลา

- การให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์

- การรณรงค์

2. กลุ่มประชาชนกลุ่มเสี่ยง

- บริการให้คำแนะนำ และให้คำปรึกษาใน

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

- เฝ้าระวังโดยการคัดกรอง ตรวจสุขภาพ

และประเมินความเสี่ยง

- สร้างเครือข่ายและชมรมในการดูแล

สุขภาพ

- มีการดำเนินงานในการเฝ้าระวังอย่าง

ต่อเนื่อง

- เครือข่าย/ชมรม มีความเข้มแข็ง

- การให้สุขศึกษาเฉพาะกลุ่ม

- การจัดกิจกรรมกลุ่ม/เข้าค่าย

จัดกิจกรรมในชมรม

3. กลุ่มผู้ป่วย

- บริการรักษาพยาบาล

- การฟื้นฟูสภาพ

- บริการมีคุณภาพ มีมาตรฐาน

- การเอาใจใส่ ดูแลเหมือนญาติ

- หายจากอาการป่วยเร็วๆ

- การให้คำแนะนำในการปฏิบัติ

ตัว

- การพูดคุย

4. กลุ่มผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส และผู้ยากไร้

- บริการสุขภาพเชิงรุก โดยการจัดบริการใน

ชุมชน

- สนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์

- จัดสวัสดิการ และการสงเคราะห์

- บริการดี มีคุณภาพ

- เท่าเทียมและเป็นธรรม

- โปร่งใสตรวจสอบได้

- การให้ความรู้/การฟื้นฟูสภาพ

- จัดหาสวัสดิการและอุปกรณ์

(เตียง รถเข็น ไม้เท้า)

5. กลุ่มผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์สุขภาพ

- ออกใบอนุญาตประกอบการ

- ให้คำแนะนำ ให้คำปรึกษาและพัฒนา

ศักยภาพ

- ตรวจประเมินรับรอง

- สะดวก รวดเร็ว

- สุภาพ บริการเป็นกันเอง

- ประชุมกลุ่ม

- พูดคุย

ตารางที่ P1-9 กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

บริการที่ให้

ความต้องการ

ความคาดหวัง

แนวทางและวิธีการ

สื่อสารระหว่างกัน

1. เจ้าของกิจการสถานที่ผลิตอาหาร

- ตรวจสอบเฝ้าระวังสถานที่ผลิตอาหารที่เข้าข่าย GMP/PGMP

- เพื่อให้สถานที่ผลิตอาหารที่เข้าข่าย GMP/PGMP ในจังหวัดอ่างทองมีมาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด

- ประชุมชี้แจงและออกตรวจสอบ

2. ผู้จำหน่ายผัก ผลไม้ ธัญญลักษณ์ และอาหารสด

- ตรวจสอบความปลอดภัยจากสารปนเปื้อนในผัก/ผลไม้/ธัญพืชและอาหารสด

อาหารสดปลอดภัยไร้สารปนเปื้อน

- ประชุมชี้แจงและออกตรวจสอบ

3. ร้านขายยา

- การบังคับใช้กฎหมายตาม พ.ร.บ.ยาและตรวจร้านขายยาประจำปี 2562

- เพื่อให้ผู้รับอนุญาต ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการ และเจ้าหน้าที่ มีความเข้าใจในข้อกฎหมายและแนวทางปฏิบัติ

- อบรมให้ความรู้เรื่องกฎหมายและแนวทางปฏิบัติสำหรับร้านขายยา

4. สถานพยาบาลเอกชน

- ตรวจสอบเฝ้าระวังให้สถานพยาบาลเอกชน

และสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ มีมาตรฐานและปฏิบัติตามที่กฎหมายกำหนด

- เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการจาก

สถานพยาบาลเอกชนและสถานประกอบการเพื่อสุขภาพที่มีมาตรฐาน

- การจัดประชุมแนวทางการปฏิบัติ

5. ผู้ประกอบการที่ผลิตเครื่องสำอาง

- ตรวจสถานที่ผลิตเครื่องสำอาง ให้ได้มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด

- ยกระดับสถานที่ผลิตเครื่องสำอาง ให้ได้มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด

- อบรมผู้ประกอบการที่ผลิตเครื่องสำอาง

8) ส่วนราชการหรือองค์การที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการหรือส่งมอบงานต่อกัน

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง ได้ปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานและส่วนราชการอื่นๆ ที่มีบทบาทและข้อปฏิบัติงานร่วมกัน ดังตารางที่ P1-10

ตารางที่ P1-10 ส่วนราชการหรือองค์การที่เกี่ยวข้องกันในการให้บริการหรือส่งมอบงานต่อกัน

ส่วนราชการ/

องค์กรที่เกี่ยวข้อง

บทบาทหน้าที่ ในการปฏิบัติงานร่วมกัน

ข้อกำหนดที่สำคัญ ในการปฏิบัติงานร่วมกัน

กลไก/วิธีการส่งมอบผลผลิต และบริการ

ผู้ส่งมอบ

1. หน่วยงาน/องค์กรที่จำหน่ายยา เวชภัณฑ์และครุภัณฑ์ทางการแพทย์แผนปัจจุบันและแพทย์แผนไทย

- จัดส่งยา เวชภัณฑ์และครุภัณฑ์ทางการแพทย์แผนปัจจุบันและวัตถุดิบในการผลิตยาสมุนไพรไทย

- ส่งมอบยา เวชภัณฑ์ครุภัณฑ์ทางการแพทย์และวัตถุดิบในการผลิตยาสมุนไพรที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด ราคาเหมาะสม

- พูดคุยกับตัวแทน

- โทรศัพท์/โทรสาร

- Internet

- ประกาศ

- จัดทำสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง

2. ผู้ประกอบการ

- ส่งมอบสินค้าและบริการ

- ส่งมอบสินค้าและบริการ ที่มีคุณภาพ มาตรฐาน สร้างสรรค์สินค้าและบริการใหม่ๆ ที่มีคุณค่า

- พูดคุยกับผู้ประกอบการ

- โทรศัพท์/โทรสาร

- เอกสารราชการ เช่นการขอขึ้นทะเบียน ขออนุญาต ต่ออายุ

3. หน่วยงานรับจ้างเหมาบริการ เช่น รปภ. พนักงานทำความสะอาด

- ส่งมอบบริการ/งาน

- ส่งมอบบริการที่มีคุณภาพมีมาตรฐาน มีความปลอดภัย และงานตามที่กำหนดในข้อตกลง

- พูดคุยกับตัวแทน

- โทรศัพท์/โทรสาร

- Internet

- ประกาศ

- จัดทำสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง

พันธมิตร

1. เครือข่ายชมรมออกกำลังกาย

- ส่งเสริมการดูแลสุขภาพประชาชน

- มีส่วนร่วมในการนำนโยบายและแผนปฏิบัติราชการไปปฏิบัติ

- ส่งมอบข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา

- พูดคุย

- ประชุมชี้แจง/แลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวทางปฎิบัติ

- ข้อตกลงร่วมกัน

2. เครือข่ายชมรมผู้สูงอายุ

- ส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

- มีส่วนร่วมในการนำนโยบายและแผนปฏิบัติราชการไปปฏิบัติ

- ส่งมอบข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา

- พูดคุย

- ประชุมชี้แจง/แลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวทางปฎิบัติ

- ข้อตกลงร่วมกัน

- โทรศัพท์/โทรสาร

- ไลน์กลุ่ม

3. เครือข่ายชมรมกู้ชีพกู้ภัย

- ให้ความช่วยเหลือและทำการปฐมพยาบาลเบื้องต้นแก่ผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ

- เคลื่อย้ายผู้ที่ได้รับบาดเจ็บนำส่ง รพ.อย่างถูกวิธีและปลอดภัย

- ส่งมอบข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา

- พูดคุย

- ประชุมชี้แจง/แลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวทางปฎิบัติ

- ข้อตกลงร่วมกัน

- โทรศัพท์/โทรสาร

- ไลน์กลุ่ม

4. กรมสุขภาพจิต กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก และ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

- ส่งเสริมการดูแลสุขภาพประชาชน

- ร่วมดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข

- ส่งมอบองค์ความรู้ กรอบมาตรการและวิชาการในการส่งเสริมสุขภาพประชาชน

- พูดคุย

- ประชุมชี้แจง/แลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวทางปฎิบัติ

- ข้อตกลงร่วมกัน

- โทรศัพท์/โทรสาร

- ไลน์กลุ่ม

5. ชมรม To Be Number One

- จัดกิจกรรมดนตรี กีฬาต้านยาเสพติด

- จัดอบรมให้ความรู้เรื่องยาเสพติด

- เปิดโอกาสให้ผู้ที่ผ่านการบำบัดยาเสพติดเข้ามาทำงานได้

- การจัดกิจกรรมที่ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น ฝึกอาชีพเพื่อหารายได้

- ส่งมอบข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา

- พูดคุย

- ประชุมชี้แจง/แลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวทางปฎิบัติ

- ข้อตกลงร่วมกัน

- โทรศัพท์/โทรสาร

- ไลน์กลุ่ม

ผู้ให้ความร่วมมือ

1. หน่วยงานในกำกับของกระทรวงสาธารณสุขได้แก่

สำนักงานเขตสุขภาพที่ 4สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 4 สระบุรี ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดสระบุรี

- ร่วมจัดทำแผนยุทธศาสตร์และนำนโยบายและแผนปฏิบัติราชการไปปฎิบัติ

- สัมฤทธิผล

- ประชุมชี้แจง/แลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวทางปฎิบัติ

- ข้อตกลงร่วมกัน(MOU)

- โทรศัพท์/โทรสาร

- รายงาน43 แฟ้ม

- VDO Conference

- ไลน์กลุ่ม

2. หน่วยงานที่ให้บริการประชาชนด้านสาธารณสุข ศูนย์สาธารณสุขเทศบาล

/รพ.เอกชนในพื้นที่/คลินิกเอกชนในพื้นที่

- ขอความร่วมมือในการทำงาน เช่น งานระบาดวิทยา และงานสาธารณสุขอื่นๆ

- ส่งมอบข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ทันเวลา คืนข้อมูลให้หน่วยงาน

- พูดคุย

- ประชุมชี้แจง/แลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวทางปฎิบัติ

- ข้อตกลงร่วมกัน

- โทรศัพท์/โทรสาร

- ไลน์กลุ่ม

3. หน่วยงานภาครัฐที่บูรณาการแผนร่วมกันในจังหวัด เช่น พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ปศุสัตว์จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาฯลฯ

- เสริมสร้างในการดูแลสุขภาพประชาชนตามจำนวนครัวเรือน

- มีส่วนร่วมในการนำนโยบายและแผนปฏิบัติราชการไปปฏิบัติโดยผ่านบุคลากรสาธารณสุข

- ผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมสุขภาพอนามัย

- การแนะนำเผยแพร่ความรู้ด้านสุขภาพ และรักษาพยาบาลขั้นต้นโดยใช้ยาและเวชภัณฑ์ตามขอบเขตที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด

- การส่งต่อผู้ป่วยไปรับบริการ

การฟื้นฟูสภาพและจัดกิจกรรมพัฒนาสุขภาพภาคประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน

- พูดคุย

- ประชุมชี้แจง/มอบหมายงาน

- โทรศัพท์/โทรสาร

- ไลน์กลุ่ม

2. สภาวการณ์ขององค์การ

9) สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขันทั้งภายในและภายนอกประเทศ

การเทียบเคียงภายในประเทศ สสจ.อ่างทอง ได้กำหนดยุทธศาสตร์มีเป้าประสงค์ เพื่อให้ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน โดยมีตัวชี้วัดที่สามารถเทียบเคียงได้ ดังนี้

การเทียบเคียงโดยเทียบเคียงกับส่วนราชการที่มีภารกิจ ขนาดและโครงสร้างคล้ายคลึงกัน พบว่า สสจ.อ่างทอง มีผลการเทียบเคียงกับ สสจ.สิงห์บุรี และ สสจ.นครนายก ดังตารางที่ P2-1

ตารางที่ P2-1 การเทียบเคียงกับส่วนราชการที่มีโครงสร้างและภารกิจคล้ายกับ สสจ.อ่างทอง

ลำดับ

รายการเทียบเคียง

จ.อ่างทอง

จ.สิงห์บุรี

จ.นครนายก

แหล่งข้อมูล

1.

ร้อยละของเด็กอายุ 0- 5 ปีสูงดีสมส่วน

47.04

48.72

39.40

HDC 21 พ.ย. 61

2.

ร้อยละของวัยทำงานอายุ 30 -44 ปี มี BMI ปกติ

60.78

55.68

47.04

HDC 21 พ.ย. 61

3.

- อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง

2.63

2.67

3.06

HDC 21 พ.ย. 61

- อัตราป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง

3.85

4.55

6.18

HDC 21 พ.ย. 61

4.

อัตราของผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองได้

96.48

93.86

88.95

HDC 21 พ.ย. 61

5.

อัตราตายด้วยโรคสำคัญ

- อัตราตายด้วยโรคหัวใจขาดเลือด

48.51

- อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดสมอง

61.26

6.

ร้อยละดัชนีความสุขของคนทำงาน

63.96

63.12

61.81

สรุปผล Happinometer ปี 60

7.

อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสาธารณสุข

98.17

96.35

98.18

สรุปผลการตรวจราชการ รอบ 2

8.

ร้อยละของโรงพยาบาลมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3

33.33

100

100

สรุปผลการตรวจราชการ รอบ 2

9.

ร้อยละของ รพ.สต.ที่ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว

35.53

10.

ร้อยละของหน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์ PMQA

100

100

100

11.

จำนวนอำเภอที่ พชอ. มีคุณภาพ

7 แห่ง

แหล่งข้อมูล : รายงาน HDC วันที่ 21 พ.ย. 2561

จากตางรางการเทียบเคียงกับส่วนราชการที่มีโครงสร้างและภารกิจคล้ายกับ สสจ.อ่างทอง ตามตัวชี้วัดยุทธศาสตร์สาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง จำนวน 11 ตัวชี้วัด พบว่า จังหวัดอ่างทอง มีผลการดำเนินงานส่วนใหญ่ใกล้เคียงกับจังหวัด สิงห์บุรี มีผลงานเด่นในเรื่องวัยทำงานอายุ 30-44 ปี มี BMI ปกติ อัตราป่วยเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง อัตราป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง อัตราของผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองได้และร้อยละดัชนีความสุขของคนทำงาน มีผลงานต่ำกว่าจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ ร้อยละของโรงพยาบาลมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดสมอง (ใน โรงพยาบาล)

10) การเปลี่ยนแปลงด้านการแข่งขัน

ปัจจัยที่ทำให้ประสบความสำเร็จ

ปัจจัยที่มีผลต่อสภาพการแข่งขัน

- มีความเชี่ยวชาญในการวิเคราะห์ และจัดทำข้อมูลในการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ เป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง

- มีระบบการกำกับติดตาม และประเมินผล การปฏิบัติราชการที่มีประสิทธิภาพ (HDC PA Chroniclink คณะกรรมการ กวป.คณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติราชการ)

- บุคลากรมีสมรรถนะสูงทางด้านการรักษาพยาบาล สร้างเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรคฟื้นฟูสภาพและ คุ้มครองผู้บริโภค

- มีภาคีเครือข่ายสุขภาพครอบคลุม ทั้งระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้านและครอบครัว

- มีเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการรักษาพยาบาล สร้างเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรค คุ้มครองผู้บริโภคมากขึ้น

1. ประชาชนในพื้นที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ส่งผลต่อสภาวะการเจ็บป่วย และภาวะพึ่งพิง

2. จำนวนผู้ป่วยโรคไม่ตดต่อเรื้อรังสะสมเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งผู้ป่วยเหล่านี้จะมีสภาวะของโรคที่ซับซ้อนมากขึ้น ส่งผลต่อการเสียชีวิตของผู้ป่วย

11) แหล่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ

สสจ.อ่างทอง มีแหล่งข้อมูลภายในจังหวัด ได้แก่ รายงานผลการดำเนินงานประจำปีรายงานสรุปผลการประเมินโครงการรายงานสรุปผลการตรวจราชการ รายงานสรุปผลการนิเทศงานข้อมูลผลงาน PA

แหล่งข้อมูลที่ได้จากหน่วยงานอื่น ได้แก่เวบไซต์ HDC ของกระทรวงสาธารณสุขเวบไซต์ GIS Health

ข้อจำกัดในการได้มาซึ่งข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ ได้แก่ การรวบรวมข้อมูลยังไม่รวมศูนย์ อยู่กระจัดกระจายตามกลุ่มงาน ขาดการบริหารจัดการแบบองค์รวม ทำให้การเข้าถึงข้อมูลไม่สะดวก

ข. บริบทเชิงยุทธศาสตร์

12) ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์และความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ ของสสจ.อ่างทองดังตารางที่ P2-5

ตารางที่ P2-2 ความท้าทายและความได้เปรียบเชิงยุทธศาสตร์ของ สสจ.อ่างทอง

ความท้าทายเชิงยุทธศาสตร์

ด้านพันธกิจ

1. พัฒนาหน่วยบริการทุกระดับให้มีคุณภาพมาตรฐาน

2. ลดอัตราการป่วยและอัตราตายด้วยโรคที่สำคัญของจังหวัด

ด้านการปฏิบัติการ

1. การลดความแออัดของสถานบริการ การลดระยะเวลารอคอย

2. เพิ่มความพึงพอใจของผู้รับบริการ

ด้านทรัพยากรบุคคล

1. การบริหารจัดการกำลังคนให้เพียงพอ เหมาะสม

2. พัฒนาขีดความสามารถของบุคลากรทั้งด้านบริหาร บริการ วิชาการ

3. เพิ่มความสุขให้บุคลากรทั้งด้านชีวิตส่วนตัวและการทำงาน

ด้านสังคม

เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายในการจัดการสุขภาพประชาชน ทั้งด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและการจัดการสิ่งแวดล้อม

ความได้เปรียบเชิงยุทธยุทธศาสตร์

ด้านพันธกิจ

1. ทิศทางนโยบายที่ชัดเจนของกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วยแผน 20 ปี แผน 5 ปี

2. หน่วยงานทุกระดับมีการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติที่ส่งผลต่อการบรรลุผลสำเร็จของยุทธศาสตร์และพันธกิจขององค์กร

ด้านการปฏิบัติการ

1. นโยบายการบูรณาการการทำงานร่วมกันของทุกภาคส่วนในการแก้ปัญหาในพื้นที่

2. เทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัย เข้าถึงครอบคลุมทุกพื้นที่

3. หน่วยบริการสาธารณสุขที่เพียงพอ ครอบคลุมทุกพื้นที่

ด้านบุคลากร

1. เทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัยทำให้บุคลากรค้นหาความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆได้ง่าย รวดเร็ว

2. บุคลากรเป็นคนในพื้นที่ และทำงานในพื้นที่มานาน เข้าใจวิถีชีวิตของคนในชุมชน

ด้านสังคม

1. ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่เป็นสังคมชนบท ถิ่นฐานที่อยู่ชัดเจน

2. หน่วยบริการระดับตำบลตั้งอยู่ในชุมชนมานาน คนในชุมชนมีความผูกพันร่วมมือกับหน่วยงาน

ค. ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ

13) ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ

ข้อ

ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงาน

เครื่องมือ

ระบบการบริหารจัดการแผนปฏิบัติราชการประจำปี ๒๕๖1 แบบบูรณาการด้วยการใช้ยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุข (IRBM) ด้วยการใช้เครื่องมือ SWOT ในการวิเคราะห์ปัจจัยภายในองค์กรและเครื่องมือ PEST วิเคราะห์ปัจจัยภายนอกองค์กร

- SWOT

- PEST

2

การวางระบบการควบคุม กำกับติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการด้านแผนงาน/ด้านกำลังคนและเงินงบประมาณ ด้วยการใช้เครื่องมือ Bench Markingภายในจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ 4

- Bench Marking

3

การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลทุกระดับ

- รพท./รพช.มาตรฐาน HA

- รพ.สต.ติดดาว

4

การวางระบบพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน QA (วิชาชีพพยาบาล) เพื่อให้ได้การรับรองทั่วทั้งจังหวัดอ่างทอง (รพ. ๗ แห่ง)

- มาตรฐาน QA

5

การใช้มาตรฐาน ๕ ส. ในการพัฒนาองค์กรทั้งระดับจังหวัดและอำเภอ

- มาตรฐาน ๕ส.

6

การใช้กระบวนการจัดการความรู้ (KM) ในการพัฒนาคุณภาพของทุกระบบงาน

- Knowledge Mangement : KM

7

การลดค่าใช้จ่ายในการจัดทำเอกสารการประชุมด้วยเอกสารอิเลคโทรนิกส์ไฟล์

- ระบบอิเลคโทรนิกส์

8

การรับส่งหนังสือด้วยโปรแกรมระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

- ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์

9

การพัฒนาและใช้ระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ (PMS) ที่ถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์การสู่ระดับบุคคลแต่ละระดับ (ระดับผู้ช่วย นพ.สสจ.อ่างทอง/หัวหน้ากลุ่มงาน/งาน และผู้ปฏิบัติงาน)

- Performance MangementSystem : PMS

10

การใช้เวทีชื่นชม ยกย่องเชิดชูเกียรติและให้รางวัลสำหรับผู้ที่มีผลงานดีเด่น (ระดับประเทศ/ระดับเขตและระดับจังหวัด) ในเวที คนดีศรีสาธารณสุข/ข้าราชการดีเด่น

- คนดีศรีสาธารณสุข

- ข้าราชการดีเด่น

11

การจัดเวทีการประกวดผลงานระดับจังหวัดทุกงาน (นวัตกรรม QA ของวิชาชีพพยาบาล และทุกงาน)

- การประกวดผลงาน

12

การพัฒนาระบบและรับรองคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว (๕ดาว)

- เกณฑ์ รพ.สต.ติดดาว

13

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)

- เกณฑ์ (PMQA)

14

แบบประเมินความสุขบุคลากรกระทรวงสาธารณสุข

- happinometer

15

แบบประเมินสุขภาวะองค์กร

- HPI

ÖøąìøüÜÿćíćøèÿč× ðúĆéÖøąìøüÜ ÖøąìøüÜöĀćéĕì÷ ÖúčŠöõćøÖĉÝéšćîêŠćÜė øĂÜðúĆé ÿĞćîĆÖÜćîðúĆéÖøąìøüÜ ðúĆéÖøąìøüÜ ÝĆÜĀüĆé ñĎšüŠćøćßÖćøÝĆÜĀüĆé ÖøöüĉßćÖćøêŠćÜė ĂíĉïéĊ ÿĞćîĆÖÜćîÿćíćøèÿč×ÝĆÜĀüĆé îć÷Ēóì÷Ťÿćíćøèÿč×ÝĆÜĀüĆé ĂĞćđõĂ îć÷ĂĞćđõĂ ýĎî÷Ťđ×ê ēøÜó÷ćïćúìĆęüĕð ñĎšĂĞćîü÷ÖćøēøÜó÷ćïćú ÿĞćîĆÖÜćîÿćíćøèÿč×ĂĞćđõĂ ÿćíćøèÿč×ĂĞćđõĂ ēøÜó÷ćïćúßčößî ñĎšĂĞćîü÷ÖćøēøÜó÷ćïćú ēøÜó÷ćïćúÿŠÜđÿøĉöÿč×õćóêĞćïú ñĎšĂĞćîü÷ÖćøēøÜó÷ćïćúÿŠÜđÿøĉöÿč×õćóêĞćïú ÿć÷ñĎšïĆÜÙĆïïĆâßć ÿć÷Öćøîĉđìý�ðøąÿćîÜćî