SPECIAL INTERVIEW เปิดนโยบายด้านการบิน the...

6
18 TRAINER SPECIAL INTERVIEW นโยบายและทิศทางในการบริหารกลุ่มงาน ด้านการขนส่งทางอากาศเป็นอย่างไร นโยบายของกระทรวงคมนาคมในฐานะหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ การก�าหนดนโยบายและก�ากับดูแลเพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรม การบินของประเทศ ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง อุตสาหกรรมการผลิต การซ่อมบ�ารุงอากาศยานของภูมิภาค อาเซียน โดยมีกลุ่มเป้าหมายทั้งสายการบินภายในประเทศและ ต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่มีกิจการด้านการบินก�าลังเติบโตอย่างรวดเร็ว การส่งเสริม ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านอุตสาหกรรมการบินได้นั้น จ�าเป็นต้องพัฒนาศักยภาพการผลิตบุคลากรขึ้นมารองรับธุรกิจ การบินและธุรกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนักบิน วิศวกร ช่างซ่อม อากาศยาน พนักงานสายการบิน และบุคลากรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการบิน ซึ่งสายอาชีพเหล่านี้จ�าเป็นต้องใช้องค์ความรู้ด้าน เทคนิคระดับสูง ต้องมีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ ท�างาน รวมทั้งมีกลไกก�ากับดูแลโดยภาครัฐ ดังนั้น ปัจจัย สู่ความส�าเร็จประการหนึ่งของการพัฒนาอุตสาหกรรม อากาศยาน คือ การพัฒนาก�าลังคนให้มีความพร้อม และสามารถตอบสนองความต้องการของอุตสาหกรรม อากาศยานที่จะขยายตัวในอนาคต ทั้งนี้สถาบันการ ศึกษาจ�าเป็นจะต้องสร้างองค์ความรู้ให้กับนักศึกษา ตั้งแต่ในระดับพื้นฐานจนถึงระดับมหาวิทยาลัย เพื่อให้ บุคคลที่จะเข้าท�างานในอุตสาหกรรมการบินที่มีความรู ความสามารถตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน เมื่อจบไปแล้วสามารถท�างานได้ตามความต้องการ ของผู้ประกอบการ เปิดนโยบายด้านการบิน เมื่อ “เอเชีย” จะเป็น HUB การบินโลก จากสถานการณ์การขนส่งทางอากาศที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก สถาบันการบินพลเรือน (สบพ.) ถือว่าเป็นสถาบันหลักในการพัฒนาบุคลากรทางด้านการบิน ของประเทศทั้งด้านการให้บริการทางอากาศและการบริการภาคพื้น จึงเป็นโอกาสที่ดียิ่งที่จะผลิตบุคลากรด้านการบินที่มีคุณภาพ ไว้รองรับตลาดอุตสาหกรรมการบิน ในโอกาสนี้นิตยสาร “TRAINER” ได้รับเกียรติอย่างสูงจาก “ท่านอาคม เติมพิทยาไพสิฐ” รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงคมนาคม ให้สัมภาษณ์พิเศษถึงนโยบาย วิสัยทัศน์ และทิศทางในการพัฒนาการขนส่งทางอากาศ มีประเด็นน่าสนใจ ดังต่อไปนีนายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม

Transcript of SPECIAL INTERVIEW เปิดนโยบายด้านการบิน the...

Page 1: SPECIAL INTERVIEW เปิดนโยบายด้านการบิน the Aviation...การก าหนดนโยบายและก าก บด แลเพ อข

1 8 T R A I N E R

S P E C I A L I N T E R V I E W

นโยบายและทิศทางในการบริหารกลุ่มงานด้านการขนส่งทางอากาศเป็นอย่างไร

นโยบายของกระทรวงคมนาคมในฐานะหน่วยงานหลกัทีร่บัผดิชอบ การก�าหนดนโยบายและก�ากับดูแลเพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการบินของประเทศ ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมการผลิต การซ่อมบ�ารุงอากาศยานของภูมิภาคอาเซียน โดยมีกลุ่มเป้าหมายทั้งสายการบินภายในประเทศและ ต่างประเทศ โดยเฉพาะประเทศในภูมภิาคเอเชียตะวันออกเฉยีงใต้ ที่มีกิจการด้านการบินก�าลังเติบโตอย่างรวดเร็ว การส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้านอุตสาหกรรมการบินได้นั้น จ�าเป็นต้องพฒันาศกัยภาพการผลติบคุลากรขึน้มารองรบัธรุกจิการบินและธุรกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนักบิน วิศวกร ช่างซ่อมอากาศยาน พนกังานสายการบนิ และบคุลากรอืน่ๆ ทีเ่กีย่วข้องกับการบิน ซึ่งสายอาชีพเหล่านี้จ�าเป็นต้องใช้องค์ความรู้ด้านเทคนิคระดับสูง ต้องมีความเช่ียวชาญและประสบการณ์ท�างาน รวมทั้งมีกลไกก�ากับดูแลโดยภาครัฐ ดังนั้น ปัจจัยสู่ความส�าเร็จประการหนึ่งของการพัฒนาอุตสาหกรรมอากาศยาน คือ การพัฒนาก�าลังคนให้มีความพร้อม และสามารถตอบสนองความต้องการของอุตสาหกรรมอากาศยานที่จะขยายตัวในอนาคต ทั้งนี้สถาบันการศึกษาจ�าเป็นจะต้องสร้างองค์ความรู้ให้กับนักศึกษาตั้งแต่ในระดับพื้นฐานจนถึงระดับมหาวิทยาลัย เพื่อให้บคุคลทีจ่ะเข้าท�างานในอตุสาหกรรมการบนิทีม่คีวามรู้ ความสามารถตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน เมื่อจบไปแล้วสามารถท�างานได้ตามความต้องการของผู้ประกอบการ

เปิดนโยบายด้านการบินเมื่อ “เอเชีย” จะเป็น HUB การบินโลกจากสถานการณ์การขนส่งทางอากาศที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างยิง่ในภมูภิาคเอเชยีแปซฟิิก สถาบนัการบนิพลเรอืน (สบพ.) ถอืว่าเป็นสถาบนัหลกัในการพฒันาบคุลากรทางด้านการบนิของประเทศทัง้ด้านการให้บรกิารทางอากาศและการบรกิารภาคพืน้ จึงเป็นโอกาสท่ีดียิ่งที่จะผลิตบุคลากรด้านการบินที่มีคุณภาพ ไว้รองรับตลาดอตุสาหกรรมการบิน ในโอกาสน้ีนติยสาร “TRAINER” ได้รับเกียรติอย่างสูงจาก “ท่านอาคม เติมพิทยาไพสิฐ” รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ให้สัมภาษณ์พิเศษถึงนโยบาย วิสัยทัศน์ และทิศทางในการพัฒนาการขนส่งทางอากาศ มีประเด็นน่าสนใจ ดังต่อไปนี้

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม

Page 2: SPECIAL INTERVIEW เปิดนโยบายด้านการบิน the Aviation...การก าหนดนโยบายและก าก บด แลเพ อข

T R A I N E R 1 9

S P E C I A L I N T E R V I E W

นโยบายหลักๆ ของเราได้ส่งเสริมการใช้ท่าอากาศยานในภูมิภาคให้มากขึ้น เพื่อให้ใช้ประโยชน์จากท่าอากาศยานที่มีอยู่ให้ได้ประโยชน์สูงสุด โดยขยายท่าอากาศยานนานาชาติ ท่าอากาศยานหลักของประเทศที่เป็นประตูหลักให้มีศักยภาพมากขึ้น ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ดอนเมือง เชยีงใหม่ และภูเกต็ เพือ่ให้สามารถรองรบัเครือ่งบนิได้มากยิง่ขึน้ โดยเฉพาะสายการบินต้นทุนต�่าได้เข้ามาให้บริการเพิ่มขึ้น ท�าให้คนไทยได้รับความสะดวกในการเดินทาง ที่ส�าคัญท�าให้การเดินทางในประเทศ มีอัตราการเติบโตสูงขึ้น

ทัง้นี ้ต้ังแต่ปี 2553 กระทรวงคมนาคมได้เริม่มนีโยบายในการส่งเสรมิการใช้ท่าอากาศยานในภูมิภาคของภาครัฐ เนื่องจากมีอัตราการใช้ของเครือ่งบนิใช้บรกิารค่อนข้างต�า่จนกระท่ังในปี 2554 เป็นต้นมา สายการบนิ ต้นทนุต�า่ (Low Cost Airlines) หนัไปใช้ท่าอากาศยานของภาครฐัมากขึน้ โดยปี 2556 ประเทศไทยมีอัตราการเติบโตของผู้โดยสารถึงร้อยละ 13.7 โดยความต้องการเดินทางทางอากาศที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเกิดจากการขยายตัวของสายการบนิต้นทุนต�า่ ท�าให้มกีารแข่งขนัในด้านค่าโดยสาร การให้บริการและเส้นทางบินต่างๆ มากขึ้น ซึ่งค่าโดยสารที่ลดลงท�าให้ประชาชนที่มีรายได้ต�า่สามารถเดินทางทางอากาศได้

และเม่ืออุตสาหกรรมการบนิเตบิโต เครือ่งบนิเข้ามามาก ท�าให้มคีวามต้องการ 2 เรือ่งตามมา คอื ส่วนแรก บคุลากรในสายการบนิ ประกอบด้วยคนเกี่ยวข้องหลายส่วน ไม่ว่าจะเป็นกัปตัน นักบิน พนักงานบริการในส่วนต่างๆ ทั้งภาคพื้นและภาคอากาศ และสุดท้ายคือ การซ่อมบ�ารุงเครื่องบิน

นโยบายการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรด้านการบินของไทยมีอะไรบ้าง

นโยบายในเรื่องบุคลากร เรามีสถาบันการบินพลเรือน หรือ สบพ. ที่ปัจจุบันมีการเติบโตค่อนข้างมาก เป็นสถาบันหลักของประเทศในการผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านการบิน ทั้งหลักสูตรภาคพื้นและภาคอากาศอย่างครบวงจรมากว่า 54 ปี แต่ด้วยเป็นหน่วยงานของรัฐ การด�าเนินงานที่ผ่านมาพบว่ายังมีข้อจ�ากัดหลายประการที่ส่งผลโดยตรงในการผลิตบุคลากรโดยเฉพาะการฝึกนักบิน และช่างซ่อมอากาศยาน ที่ยังไม่ทันกับการเติบโตของสายการบินที่เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับภาคเอกชนสนใจ เข้ามาด�าเนินการในเรื่องนี้เพิ่มขึ้นด้วย หาก สบพ. ไม่ปรับกลยุทธ์ในการด�าเนินงาน ก็อาจสู้ภาคเอกชนไม่ได้

อย่างไรกต็าม ในช่วง 4-5 ปีท่ีผ่านมา สบพ. ได้มกีารปรบัปรงุภายใน องค์กร เพราะทุกคนรู้ว่าต้องท�าให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ไม่เช่นน้ันจะไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก และในปี 2558 จะต้องเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กระทรวงคมนาคมได้มีการเจรจาการบินกับหลายประเทศจะท�าให้สายการบิน หรืออุตสาหกรรมการบินของเรามีโอกาสมากขึ้น

“เรื่องเทคโนโลยีการบิน ตรงนี้ สบพ. เข ้าใจดี เริ่มจากการเปล่ียนแปลง โดยน้อมน�าพระราชด�ารสัพระบาทสมเดจ็พระเจ้าอยูหั่ว มาใช้ การเปล่ียนแปลงมนัต้องมาจากตวัเราเอง และรูศ้กัยภาพของตวัเองด้วยการยดึตามแนวเศรษฐกจิพอเพยีง เพราะแต่ละปี สบพ. มงีบเพยีง 200 กว่าล้าน เท่านั้น ถ้าเทียบกับการผลิตบุคลากรการบินมันต้องใช้งบประมาณมากพอสมควร ถึงแม้จะมีข้อจ�ากัดด้านงบประมาณ แต่ สบพ. ก็มีการพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับอย่างที่ เห็นทุกวันนี้ เมื่อครั้งที่ผมด�ารงต�าแหน่ง รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้สนับสนุนให้จัดหาเครื่องบินใหม่เพิ่มเติม เพราะต้องการให้อุปกรณ์การเรียนเพียงพอ ทันสมัย และมีความปลอดภัย เครื่องบินเก่ามันอันตราย ผมจึงสนับสนุนการผลิตบุคลากรของ สบพ. มาโดยตลอด”

อีกด้านหนึ่งนโยบายของเราคือ การส่งเสริมอุตสาหกรรมการบิน ด้านการซ่อมบ�ารุง เมื่อเครื่องบินเข้ามาจ�านวนมาก เมื่อถึงเวลาซ่อมเล็ก หรือซ่อมใหญ่การบินออกไปซ่อมที่อื่นท�าให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น จึงมี นโยบายส่งเสริมให้เครื่องบินซ่อมที่ประเทศไทย กระทรวงคมนาคม จึงมอบหมายให้ส�านักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ไปศึกษาการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม ศูนย์ซ่อมอากาศยาน ผลปรากฎว่าเรามีศักยภาพ และเลือกสนามบินเป็นศูนย์ซ่อมอากาศยานเรียบร้อยแล้ว เท่าที่ทราบมีสายการบินต่างชาติจ�านวนมากสนใจเข้ามาเป็นพันธมิตรกับสายการบินไทยด้วย จึงถือเป็นนโยบายหลักที่จะส่งเสริมให้เป็นศูนย์ซ่อมอากาศยานในภูมิภาค

“ผมคิดว่าทั้งเรื่องของบุคลากรการบิน และเรื่องช่างซ่อมเครื่องบินเป็นโอกาส เพราะว่าปัจจัยความส�าเร็จการพัฒนาประเทศ สุดท้ายมันอยู่ที่คุณภาพของคน ไม่ใช่เทคโนโลยี เพราะเทคโนโลยีเป็นแค่ส่วนประกอบเท่านั้น นโยบายกระทรวงคมนาคมบอกว่า ถ้าคนของเราสู้กับคนอื่นไม่ได้ เราอย่าไปหวังว่าจะชนะเพื่อนบ้าน หรือชนะประเทศอื่นใดในโลก และทั้งหมดหลักก็คือ การมีวินัยซึ่งเป็นหลักของนักบินและบุคลากรการบินด้วย”

นอกจากนี้ ที่ส�าคัญต้องมีการใช้ประโยชน์การสร้างมูลค่าเพิ่มกับอุตสาหกรรมการบินของเรา ซึ่งมีหลายส่วนที่ต่อเนื่องจากศูนย์ซ่อมคือ การผลิตชิ้นส่วนในประเทศ วันน้ีประเทศไทยมีการร่วมทุนกับต่างชาติ เพือ่ส่งออกชิน้ส่วนไปให้กบัผูผ้ลติรายใหญ่ ทกุประเทศทีม่วีตัถดุบิ มสีนิค้าไม่มาก ไม่จ�าเป็นต้องส่งออกไปยุโรป แต่ส่งมาที่น่ีเราจะจัดการให้หมด แต่มูลค่าเพิ่มที่ผมพูดถึงก็คือว่า การท�าฟรีโซนจากการใช้ประโยชน์สนามบิน ถ้าเราเป็นศูนย์ตรงนี้ได้ ทุกวันนี้ท่าอากาศยานการใช้ประโยชน์ยังน้อย แต่น่ีคือโอกาสที่เราจะเพิ่มมูลค่าให้กับอุตสาหกรรมการบินของประเทศ

Page 3: SPECIAL INTERVIEW เปิดนโยบายด้านการบิน the Aviation...การก าหนดนโยบายและก าก บด แลเพ อข

2 0 T R A I N E R

S P E C I A L I N T E R V I E WS P E C I A L I N T E R V I E W

หัวใจส�คัญของ สบพ. ที่จะเร่งด�เนินการ เพื่อยกระดับหลักสูตรให้สามารถแข่งขันในตลาดได้

ทุกวันนี้หลักสูตรการเรียนการสอนของ สบพ. เป็นไปตามมาตรฐานขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) แต่จะต้องปรับปรุงหลักสูตรตลอดเวลา เรียกว่า รีเฟรช เรียนรู ้เทคโนโลยีใหม่ๆ มีการ แลกเปล่ียนทางวิชาการกับสถาบันประเทศอื่นๆ ที่ส�าคัญทุกหน่วยต้องมีการวจิยั ถงึแม้ว่าทีผ่่านมาการวิจยัของ สบพ. กไ็ด้ท�ามาแล้ว หรอืท�าได้เท่าที่ ขีดความสามารถของตัวเอง แต่ต่อไปควรจะต้องให้โจทย์กับมหาวิทยาลัย หรอืสถาบนัวจิยัทีเ่ป็นเครอืข่ายของ สบพ. จะท�าให้องค์กรมคีวามทนัสมยั มีนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ไปจดสิทธิบัตร หรือน�าไปใช้ในอุตสาหกรรมการบินได้จริงก็ได้

ส่วนมาตรฐานการบินเราได้รับรองจากองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ (ICAO) อยู่แล้ว แต่อยากให้ปรับปรุงการเรียนการสอน ให้เป็นหน้าเป็นตาของประเทศ ทุกวันนี้ยังมีนักเรียนรอคิวเข้าเรียนกับ สบพ. ทัง้ภาคพืน้ ภาคอากาศ แต่เข้าเรยีนไม่ได้ เพราะสถานทีไ่ม่เพยีงพอ ซึ่งถ้าสร้างอาคารแห่งใหม่เสร็จ สบพ. จะมีความพร้อมในการผลิตและพัฒนาบุคลากรการบินเพิ่มมากขึ้น และจะเป็นหนึ่งในภูมิภาคทีเดียว

“การจัดหลักสูตรของเราได้มาตรฐาน ICAO เพราะ สบพ. ได้ผ่านการประเมินและได้รับการรับรองให้เป็นสมาชิกสามัญในโครงการ TRAINAIR PLUS ซ่ึงมีไม่กี่ประเทศท่ีได้รับการรับรองสถาบันว่ามีมาตรฐานสากล เหมอืนกบัหลกัสตูรการศกึษาของเราท่ีได้รับรองจากกระทรวงศกึษาธกิาร วันนี้สถาบันก้าวขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง แต่เมื่อรับรองแล้วเราก็จะได้ลูกค้า แต่ไม่ใช่ว่าเราจะท�าก�าไรนะ เราเพยีงแต่ว่าต้องการสร้างมาตรฐานบคุลากรด้านการบินของประเทศให้กับนานาชาติ”

โอกาสของไทยในการเป็นศูนย์กลาง (HUB) ขนส่งทางอากาศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก และการเปลี่ยนแปลงเมื่อเปิด AEC

ทุกวันนี้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการเดินทางจากซีกตะวันตก และฝั่งอเมริกา เราเป็นศูนย์กลางเชื่อมต่อระหว่างสองภาคนี้ จะเห็นได้ว่า การท่องเที่ยวของเรามีการเติบโตมาก ความต้องการเดินทางโดย สายการบินสูงขึ้นเรื่อยๆ จะสังเกตว่า 2-3 ปีที่ผ่านมา นักท่องเที่ยวจีนเข้ามาจ�านวนมาก สายการบินระหว่างประเทศที่มีชื่อเสียงก็ใช้ไทยเป็นฐาน การรบัผูโ้ดยสารไปยโุรป ยกตวัอย่าง สายการบนิทางตะวนัออกกลางกม็าใช้ประโยชน์จากสนามบนิเรา เพือ่รบัผูโ้ดยสารจากเอเชยีแปซฟิิกไปทางยโุรป

นอกจากนี ้การเจรญิทางเศรษฐกจิในอนาคต ระยะ 10-20 ปีข้างหน้า เอเชียจะเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจโลก ในอดีตที่ผ่านมาการเจริญเติบโตจะย้ายฐานจากยุโรปไปอเมริกา และกลับมาเอเชีย สังเกตได้จากประมาณการทางเศรษฐกิจการสั่งซื้อเครื่องบิน ในอนาคตผู้สั่งซื้อส่วนใหญ่ 30% อยู่เอเชียแปซิฟิก

ไม่เพยีงเท่านี ้การเป็น AEC ท�าให้เรามกีารเสรใีนเคลือ่นย้ายคน สนิค้า ภายในสมาชิกอาเซียน เป็นการเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี เมื่อการลดกฎ ระเบียบ กติกาการเดินทาง การลงทุน การค้า ลดภาษี ก็จะท�าให้คนในอาเซียนเดินทางไปมาหาสู่กันได้มากขึ้น ด้วยเหตุนี้จึงเช่ือว่าในระยะ 10 ปีข้างหน้า อุตสาหกรรมการบินของไทยจะเติบโตมากขึ้นอย่างแน่นอน

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม

ประวัติการศึกษา

• วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 46• นักบริหารระดับสูง ก.พ. รุ่นที่ 35• ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ Williams College, USA.• ปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ประวัติการท�างาน

• รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม• เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ

และสังคมแห่งชาติ• รองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ

และสังคมแห่งชาติ

Page 4: SPECIAL INTERVIEW เปิดนโยบายด้านการบิน the Aviation...การก าหนดนโยบายและก าก บด แลเพ อข

T R A I N E R 2 1

S P E C I A L I N T E R V I E W

What are the Policy and Management Direction in the Air Transportation Group?

The policy of the Ministry of Transport as the primary agency responsible for policy and oversight are to propel the country’s aviation industry, promote Thailand as a manufacturing center and maintenance of aircraft in ASEAN targeting both domestic and international airlines, especially, countries in Southeast Asia with a rapidly growing aviation business. To promote Thailand to be the hub for the aviation industry, it is necessary to develop and train personnel to support the airline industry and related businesses, such as, pilots, aircraft maintenance engineers, airlines personnel, and other personnel related to aviation. These careers require a high level of technical knowledge, expertise, and experience under oversight mechanism from the government entities. One of the success factors of the development of the aerospace industry is to develop people

Opening the Aviation Policy when “Asia” is to be the World Aviation Hub

From the rapid growth of aviation transportation, especially in Asia Pacific, Civil Aviation Training Center, Thailand (CATC) is said to be the main institution in developing and training aviation personnel to work in air and ground services of the country. This is the opportunity for CATC to keep up the quality personnel development and training to meet the aviation industry demand. In this issue, TRAINER had received the honor from Mr. Arkhom Termpittayapaisith, Minister of Transport, for a special interview for the policy, vision, and direction in air transportation development with interesting points as follows:

Mr. Arkhom TermpittayapaisithMinister of Transport

Page 5: SPECIAL INTERVIEW เปิดนโยบายด้านการบิน the Aviation...การก าหนดนโยบายและก าก บด แลเพ อข

2 2 T R A I N E R

S P E C I A L I N T E R V I E WS P E C I A L I N T E R V I E W

to be ready and be able to meet the needs of the aerospace industry in the future for expansion. The academic institutions need to create a body of knowledge to build students from the ground up to the university level and enable them to work in the aviation industry with the ability to meet the needs of the labor market and be able to work accordingly in a workplace. Our main policy is to promote the utilization of airports in the region to gain the existing airports’ maximum benefit by increasing the potential international airports of the country’s that serve as main gateway including Suvarnabhumi Airport, Don Muang Airport, Chiang Mai International Airport, and Phuket International Airport to accommodate more aircraft. The low-cost airlines have increased more services to provide the ease of travelling. This will be the key to increase the travelling growth.

Since January 2016, the Ministry of Transport has begun a policy to promote the use of regional state-run airports because of the relatively low utilization rate. Not until the year 2011, the low-cost airlines have started to fly to the state-run airports. By the year 2013, Thailand had a passenger growth rate of 13.7 percent. The demand for air travelling has increased rapidly due to the expansion of low cost airlines. This results in competition in the airfare, services and route offerings. Lower fares allow more people with low income to fly.

Once the aviation industry grows, more flights must be accommodated, two things have to be taken care of: the first thing is aviation personnel development and training, such as, pilot and personnel in various ground and air services and the second thing is aircraft maintenance.

What is the Policy to Promote the Development and Training of Aviation Personnel?

For policy on personnel matters, we have CATC, which presently has grown significantly. It is the main institution of the country in developing and training aviation personnel in both ground and air services for over 54 years. But as a government agency, the past performance has been plagued by several limitations that directly affect the aviation personnel development, especially pilots and aircraft mechanics, for not being able to keep up with the airline business growth. Private sector has been getting on the bandwagon and if CATC does not reconsider its strategy; then, it could lose its ground to its competitors.

In the last 4-5 years however, CATC has improved within the organization because everyone knew there had to be a change; otherwise, it would have been left behind in the changing world. In 2016 the ASEAN Economic Community

would arrive. The Ministry of Transport has negotiated a deal with several countries to increase better opportunities for our airlines and airline industry.

“For the issue of aviation technology, CATC understands itself well by initiating a change. Adopting the royal speech of His Majesty the King’s that a change has to be from within oneself and to realize its potential based on the sufficiency economy. Each year, CATC received a little government budget of more than 200 million. Compared with the development and training aviation personnel that costs considerably higher. With this limitation, CATC still shows significant improvement today. When I served as Deputy Secretary General of the Office of the National Economic and Social Development Board, I supported CATC to acquire more new aircraft because I wanted to have adequate training instrument that was up-to-date and safe. Old aircraft is dangerous. I have been supporting CATC’s personnel development and training all along.”

One other side of the policy is promoting aviation industry in aircraft maintenance. When there is a lot of aircraft, taking it out of country for small and heavy maintenance incurs more costs. The policy encourages performing maintenance locally. The Ministry of Transport has assigned the Office of Transport and Traffic Policy and Planning (OTP) to study the establishment of an industrial estate as an aircraft maintenance center. It turned out that we had the potential and the airport for aircraft maintenance center had been selected. At this point in time, there have been many interested foreign airlines who would like to be into the alliance with Thai airlines. It is a main

Page 6: SPECIAL INTERVIEW เปิดนโยบายด้านการบิน the Aviation...การก าหนดนโยบายและก าก บด แลเพ อข

T R A I N E R 2 3

S P E C I A L I N T E R V I E W

policy that will promote aircraft maintenance in the region.“I think the issue of aviation personnel and aircraft

mechanic are an opportunity. The success of national development, eventually, comes down to the quality of people, not technology because the technology is only a component. Ministry of Transport policy describes that if our people cannot compete with others, do not waste time hoping to win our neighbors or any other country in the world. In all, the principle is discipline of pilot and aviation personnel.”

It is also important that we need to take the advantage of the added value to our airline industry as a result of maintenance center, which is parts production in the country. Today, Thailand has joint venture with foreign companies to export parts to major manufacturers. Countries that have raw materials with low inventory have no need to export to Europe. Instead they can have us handle it for them. The added value I’m talking about is the exploitation of free zone at the airport. If we could become the center, the under-utilized airport could be the opportunity for added value for the country’s aviation industry.

The Heartbeat of CATC to Expedite the Raising the Training Program to Compete in the Market

Currently, CATC’s training courses are in compliance with standards established by International Civil Aviation Organization (ICAO). However, they must be continually updated called “refresh”. New technology must be acquired; academic knowledge must be exchanged among international institutions. It is also important that organizations have to conduct research. Although, CATC has done research in the past as the capabilities allowed. From now on, questions must be raised to the universities and research institutes in CATC’s network; so they can take part of creating modernization, obtain patent of innovations, or actually be used in the aviation industry.

The flight training standards have been certified by ICAO, but I would like to have improvement on the teaching methodology for the sake of keeping face. Currently, there are students waiting in line to enter CATC for ground and flight schools, but the problem is the facility size. If the new building is built, CATC would be in the better position to develop and train aviation personnel and will be the one in the region.

“The courses are in compliance with ICAO’s standard because CATC has been assessed and certified as members of the TRAINAIR PLUS programme, which few countries are accredited to meet those standards. It is analogous to an academic

curriculum is approved by the Ministry of Education. Today CATC has taken a big step with the approval. This is not to make profit; we just want to develop and train standardized aviation personnel for the International market.”

The Opportunity to be the Hub of Air Transportation of Asia Pacific and the Changes to be Made After the Beginning AEC

Today, Thailand is the hub for traveling from the western hemisphere and the US. We are the connected center between these two parts of the world. We can witness by our tourism and travelling demand by airlines growth. We can notice for the past few years that a large number of Chinese tourists came here. Famous international airlines use Thailand as a base to load their passengers to Europe. For example, the airlines from Middle East also take advantage of our airport to pick up passengers from Asia to Europe.

In addition to the economic prosperity in the future period of 10-20 years, Asia will be the center of the global economy. In the past, the growth was relocated from Europe to America and it would be back to Asia. It is noticeable by economic forecast from aircraft order. In the future aircraft orders of 30% would be from Asia Pacific.

Not only that, AEC gives us the freedom of moving people and goods within ASEAN. To move freely, easing on rules and regulations for travelling, investment, and tax cuts will make people in the region to get in touch easier. Therefore, it is my believe that in the next 10 years, the aviation industry of Thailand will certainly and significantly grows.

Mr. Arkhom TermpittayapaisithMinister of Transport

Education

• Thailand National Defence College, Batch 46• Advanced Manager, Office of the Civil Service

Commission, Batch 35• Master of Economics, Williams College, USA• Bachelor of Economics, Thammasat University

Work Experiences

• Deputy Minister of Transport• Secretary General of the Office of the National

Economic and Social Development Board• Deputy Secretary General of the Office of the

National Economic and Social Development Board