ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก...

22
47 ภาคผนวก

Transcript of ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก...

Page 1: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

47

 

 

ภาคผนวก

Page 2: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

48

 

 

ภาคผนวก ก บริเวณ และลักษณะของตัวอยางสาหรายพุงชะโดที่นํามาใชในการทดลอง

Page 3: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

49

 

 

ภาพผนวกที่ ก1 บริเวณท่ีเก็บตัวอยาง ณ ตาํบลพงตึก อําเภอทามะกา จังหวัดกาญจนบุรี

ภาพผนวกที่ ก2 ลักษณะสาหรายพุงชะโดทีใ่ชในการทดลอง

Page 4: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

50

 

 

ภาคผนวก ข

เครื่องมือ อปุกรณ และ ขั้นตอนในการทดลอง

Page 5: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

51

 

 

ภาพผนวกที่ ข1 Flame - Atomic Absorption Spectrophotometer บริษัท Varian รุน Spectra

AA 220 FS

ภาพผนวกที่ ข2 เตาเผา บริษัท CARBOLITE รุน CWF 1300

Page 6: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

52

 

 

ภาพผนวกที่ ข3 การจัดอุปกรณ และชุดการทดลองที่ใชในการปรับสภาพของสาหรายพุงชะโด

ภาพผนวกที่ ข4 การจัดอุปกรณ และชุดการทดลองที่ใชในการทดสอบการดูดซับโลหะหนักของ

สาหรายพงุชะโด

Page 7: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

53

 

 

ภาคผนวก ค สูตรธาตุอาหารของพืช คาสูงสุดของจุลธาตุที่ถือเปนคายอมรับได

และ คาที่ทําใหผลผลิตลดลง 10 % ในพืช

Page 8: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

54

 

 

ตารางภาคผนวกที่ ค1 ปริมาณธาตุอาหารชนิดมหธาตุ (Macro nutrients) และชนิดจุลธาตุ (Micro nutrients) ในสารละลายธาตุอาหารสูตร Enshi Solution

ชนิดธาตุอาหาร ธาตุและสารเคมี mg/L

N 122 P 21 K 156 Ca 80

มหธาตุ (Macro nutrients)

Mg 24 Fe-EDTA 23.6

H3BO3 2.86 MnSO4.H2O 1.538 ZnSO4.7H2O 0.22 CuSO4.5H2O 0.08

จุลธาตุ (Micro nutrients)

(NH4)2MoO7 0.01776

ที่มา : ลัดดาวลัย (2550)

Page 9: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

55

 

 

ตารางภาคผนวกที่ ค2 คาสูงสุดของจุลธาตท่ีุถือเปนคายอมรับได และ คาท่ีทําใหผลผลิตลดลง 10%

ปริมาณในพืช (มิลลิกรัมตอกิโลกรัมน้ําหนกัแหงของพืช)

ธาตุ ไมเกิดเปนพษิ คาที่รับได คาที่เร่ิมอาการเปนพิษในพืช คาที่ทําใหผลผลิต

ลดลง 10 % สารหนู 2 15-50 1-20 แคดเมียม n.a. 3-5 10-20 ทองแดง 23 60-100 10-30 ปรอท 2 2-5 1-8 ตะกัว่ n.a. 100-400 n.a. สังกะสี 110 250-400 10-30 นิเกิล 35 100 100-500

หมายเหต ุn.a. ยังไมทราบปรมิาณที่แนนอนวาเปนคาที่ยอมรับได คาที่เริ่มอาการเปนพิษในพืช และ

คาที่ทําใหผลผลิตลดลง 10% ที่มา : ลัดดาวลัย (2550)

Page 10: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

56

 

 

ภาคผนวก ง

อุณหภูมิน้ํา อุณหภูมหิอง พีเอช คาการนําไฟฟา ความเขมแสง ตลอดระยะเวลาการทดลอง

Page 11: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

57

 

 

ตารางภาคผนวกที่ ง1 อุณหภูมิน้ํา อุณหภมิูหอง พีเอช และคาการนําไฟฟาของสาหรายพุงชะโดในการปรับสภาพ 48 ชั่วโมง

ถังปลูกตัวอยาง

อุณหภูมิของน้าํ (°C)

pH คาการนําไฟฟา (EC)

อุณหภูมขิองหอง(°C)

0 25.3 ± 0.3 6.64 ± 0.26 0.36 ± 0.01 25.0 ± 0.6 1A 25.4 ± 0.6 6.60 ± 0.30 0.36 ± 0.01 25.0 ± 0.6 2A 25.4 ± 0.8 6.58 ± 0.12 0.35 ± 0.03 25.0 ± 0.6 3A 25.3 ± 0.9 6.57 ± 0.13 0.35 ± 0.01 25.0 ± 0.6 1B 25.4 ± 0.8 6.50 ± 0.10 0.35 ± 0.02 25.0 ± 0.6 2B 25.4 ± 0.4 6.55 ± 0.25 0.34 ± 0.01 25.0 ± 0.6 3B 25.4 ± 0.7 6.55 ± 0.05 0.35 ± 0.01 25.0 ± 0.6 1C 25.4 ± 0.8 6.50 ± 0.10 0.36 ± 0.03 25.0 ± 0.6 2C 25.6 ± 0.6 6.57 ± 0.23 0.35 ± 0.01 25.0 ± 0.6 3C 25.5 ± 0.7 6.54 ± 0.16 0.36 ± 0.01 25.0 ± 0.6

หมายเหต ุผลที่แสดงในตารางเปนคาเฉลี่ย (Mean) ± คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

Page 12: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

58

 

 

ตารางภาคผนวกที่ ง2 อุณหภูมิน้ํา อุณหภมิูหอง พีเอช และคาการนําไฟฟาของสาหรายพุงชะโดในการทดสอบการดูดซับโลหะหนัก 72 ชั่วโมง

ถังปลูกตัวอยาง

อุณหภูมิของน้าํ (°C)

pH คาการนําไฟฟา (EC)

อุณหภูมขิองหอง(°C)

0 25.2 ± 0.3 6.58 ± 0.12 0.36 ± 0.02 25.0 ± 0.9 1A 25.3 ± 0.2 6.53 ± 0.07 0.36 ± 0.01 25.0 ± 0.9 2A 25.3 ± 0.4 6.47 ± 0.03 0.35 ± 0.02 25.0 ± 0.9 3A 25.3 ± 0.2 6.54 ± 0.06 0.35 ± 0.01 25.0 ± 0.9 1B 25.4 ± 0.6 6.53 ± 0.17 0.35 ± 0.01 25.0 ± 0.9 2B 25.3 ± 0.5 6.57 ± 0.13 0.34 ± 0.02 25.0 ± 0.9 3B 26.0 ± 0.3 6.51 ± 0.09 0.35 ± 0.02 25.0 ± 0.9 1C 25.7 ± 0.4 6.50 ± 0.04 0.36 ± 0.03 25.0 ± 0.9 2C 25.4 ± 0.6 6.51 ± 0.11 0.35 ± 0.03 25.0 ± 0.9 3C 26.1 ± 0.4 6.50 ± 0.10 0.36 ± 0.01 25.0 ± 0.9

หมายเหต ุผลที่แสดงในตารางเปนคาเฉลี่ย (Mean) ± คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

Page 13: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

คาความเขมแสง (Lux) เวลาในการปรับสภาพสาหราย (ชม.) เวลาในการทดสอบการดูดซับโลหะหนักของสาหราย (ชม.)

ถังปลูกสาหราย

0 8 16 24 32 40 48 0 8 16 24 32 40 48 56 64 720 15-19 15-19 0 14-19 14-19 0 14-18 15-19 15-19 0 15-18 15-19 0 14-18 15-18 0 14-18

1A 15-19 15-19 0 14-19 14-19 0 14-18 15-19 15-19 0 15-18 15-19 0 14-19 15-19 0 14-182A 15-19 15-19 0 14-19 14-19 0 14-18 15-19 15-19 0 15-18 15-19 0 14-18 15-19 0 14-193A 15-19 15-19 0 14-19 14-19 0 14-18 15-19 15-19 0 15-18 15-19 0 14-18 15-19 0 14-191B 15-19 15-19 0 14-19 14-19 0 15-18 15-19 15-19 0 15-19 15-19 0 14-18 15-19 0 14-182B 15-19 15-19 0 14-19 14-19 0 14-18 15-19 15-19 0 15-19 15-19 0 15-18 15-19 0 14-193B 15-19 15-19 0 14-19 14-19 0 15-18 15-19 15-19 0 15-19 15-19 0 15-18 15-19 0 14-191C 15-19 15-19 0 14-19 14-19 0 15-18 15-19 15-19 0 15-19 15-19 0 15-18 15-19 0 14-192C 15-19 15-19 0 14-19 14-19 0 14-18 15-19 15-19 0 15-18 15-19 0 14-18 15-18 0 14-183C 15-19 15-19 0 14-19 14-19 0 14-18 15-19 15-19 0 15-18 15-19 0 14-18 15-18 0 14-18

59

 

 

ตารางภาคผนวกที่ ง3 คาความเขมแสง ตลอดระยะเวลาการทดลอง

Page 14: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

60

 

 

ภาคผนวก จ วิธีการเตรียมสารละลายเผื่อใช (Stock Solution) การเจือจางสารละลาย

และการคํานวณความเขมขนของโลหะหนักในตัวอยางน้ําและพืช

Page 15: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

61

 

 

1. วิธีการเจือจางปุยน้าํสูตร Enshi Solution ของศูนยวิจัยพืชผักเขตรอนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน จาก 50 เทาเปน 12.5 เทา

จากคูมือการใชปุยสูตร Enshi Solution ระบุวา เมื่อใชปุย 100 mL ในน้าํ 10 L ปุยมีความ

เขมขน 50 เทา จากวิธีการใชปุย น้ํา 10 L จะตองใชปุย 100 mL ถาตองการใชน้ํา 30 L จะตองใชปุย = 300 mL

ดังนั้น น้ํา 30 L ตองใชปุย 300 mL โดยใชปุยมีความเขมขน 50 เทา ปุยเขมขน 50 เทาใชปุย 300 mL ถาปุยเขมขน 12.5 เทาใชปุย = 75 mL

ดังนั้น น้ํา 30 L ตองใชปุย 75 mL โดยใชปุยมีความเขมขน 12.5 เทา

100 x 30

10

300 x 12.5

50

2. การเตรียมสารละลาย Cu ความเขมขน 100 ppm ปริมาตร 1000 mLเพื่อใชเปนสารละลายเผื่อใช

2.1. เตรียมจาก CuSO4.5H2O

CuSO4.5H2O มีน้ําหนกัโมเลกุล (MW) เทากับ 249.558 g/mol ตองการ Cu มีความเขมขน 100 ppm หมายความวา ในน้ํา 100 mL มี Cu 100 mg

ดังนั้นในการเตรียม Cu 100 mg/L ปริมาตร 1000 mL ตองใช Cu 100 mg จาก CuSO4.5H2O 249.558 g แตกตวัให Cu 63.546 g

ดังนั้น Cu 63.546 x 103 mg ตองใช CuSO4.5H2O 249.558 x 103 mg ถา Cu 100 mg ตองใช CuSO4.5H2O =

= 393 mg = 0.393 g

ดังนั้นตองใช CuSO4.5H2O หนัก 0.393 g

249.558 x 103 mg x 100 mg

63.546 x 103 mg

Page 16: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

62

 

 

2.2. ขั้นตอนในการเตรียม (ลัดดาวัลย, 2550)

2.2.1. ทําคอปเปอรซัลเฟต (CuSO4.5H2O) ใหแหงโดยอบในเดซิคเคเตอร 2.2.2. ช่ัง CuSO4.5H2O หนัก 0.393 g (ความละเอียด 0.1 mg) ละลายในน้ํากล่ัน

ปราศจากไอออน (deionized water) 200 mL ในบีกเกอรขนาด 250 mL 2.2.3. เทสารละลายที่ไดใสขวดเชิงปริมาตรขนาด 1000 mL แลวลางบีกเกอรดวยน้ํา

กล่ันปราศจากไอออน (deionized water) และใชน้ําลางนี้ปรับปริมาตรกอนในตอนแรก แลวคอยปรับปริมาตรดวยน้ํากลั่นปราศจากไอออน (deionized water) ใหถึงขีดปริมาตรที่คอขวด

2.2.4. ปดฝาขวดเชิงปริมาตรใหสนิทแลวคว่ําหงายขวดหลาย ๆ คร้ัง เพื่อใหสารละลายเปนเนื้อเดียวกัน

3. การเตรียมสารละลาย Zn ความเขมขน 100 ppm ปริมาตร 1000 mLเพื่อใชเปนสารละลายเผื่อใช

3.1. เตรียมจาก Zn(NO3)2 Zn(NO3)2 มีน้ําหนักโมเลกุล (MW) เทากับ 189.3574 g/mol ตองการ Zn มีความเขมขน 100 ppm หมายความวา ในน้ํา 100 mL มี Zn 100 mg

ดังนั้นในการเตรียม Zn 100 mg/L ปริมาตร 1000 mL ตองใช Zn 100 mg จาก Zn(NO3)2 189.3574 g แตกตัวให Zn 65.38 g

ดังนั้น Zn 65.38 x 103 mg ตองใช Zn(NO3)2 189.3574 x 103 mg ถา Zn 100 mg ตองใช Zn(NO3)2 =

= 2,896 mg = 2.896 g

ดังนั้นตองใช Zn(NO3)2 หนัก 2.896 g

189.3574 x 103 mg x 100 mg

65.38 x 103 mg

Page 17: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

63

 

 

3.2. ขั้นตอนในการเตรียม (ลัดดาวัลย, 2550)

3.2.1. ทําซิงคไนเตรท (Zn(NO3)2) ใหแหงโดยอบในเดซิคเคเตอร 3.2.2. ช่ัง Zn(NO3)2หนัก 2.896 g (ความละเอียด 0.1 mg) ละลายในน้ํากล่ันปราศจาก

ไอออน (deionized water) 200 mL ในบีกเกอรขนาด 250 mL 3.2.3. เทสารละลายที่ไดใสขวดเชิงปริมาตรขนาด 1000 mL แลวลางบีกเกอรดวยน้ํา

กล่ันปราศจากไอออน (deionized water) และใชน้ําลางนี้ปรับปริมาตรกอนในตอนแรก แลวคอยปรับปริมาตรดวยน้ํากลั่นปราศจากไอออน (deionized water) ใหถึงขีดปริมาตรที่คอขวด

3.2.4. ปดฝาขวดเชิงปริมาตรใหสนิทแลวคว่ําหงายขวดหลาย ๆ คร้ัง เพื่อใหสารละลายเปนเนื้อเดียวกัน 4. การเตรียมสารละลาย Pb ความเขมขน 100 ppm ปริมาตร 1000 mLเพื่อใชเปนสารละลายเผื่อใช

4.1. เตรียมจาก Pb(NO3)2 Pb(NO3)2 มีน้ําหนักโมเลกุล (MW) เทากับ 331.1764 g/mol ตองการ Pb มีความเขมขน 100 ppm หมายความวา ในน้ํา 100 mL มี Pb 100 mg

ดังนั้นในการเตรียม Pb 100 mg/L ปริมาตร 1000 mL ตองใช Pb 100 mg จาก Pb(NO3)2 331.1764 g แตกตัวให Pb 207.2 g

ดังนั้น Pb 207.2 x 103 mg ตองใช Pb(NO3)2 331.1764 x 103 mg ถา Pb 100 mg ตองใช Pb (NO3)2 =

= 160 mg = 0.160 g

ดังนั้นตองใช Pb(NO3)2 หนกั 0.160 g

331.1764 x 103 mg x 100 mg

207.2 x 103 mg

Page 18: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

64

 

 

4.2. ขั้นตอนในการเตรียม (ลัดดาวัลย, 2550)

4.2.1. ทําตะกั่วไนเตรท (Pb(NO3)2) ใหแหงโดยอบในเดซิคเคเตอร 4.2.2. ช่ัง Pb(NO3)2หนัก 0.160 g (ความละเอียด 0.1 mg) ละลายในน้ํากลั่นปราศจาก

ไอออน (deionized water) 200 mL ในบีกเกอรขนาด 250 mL 4.2.3. เทสารละลายที่ไดใสขวดเชิงปริมาตรขนาด 1000 mL แลวลางบีกเกอรดวยน้ํา

กล่ันปราศจากไอออน (deionized water) และใชน้ําลางนี้ปรับปริมาตรกอนในตอนแรก แลวคอยปรับปริมาตรดวยน้ํากลั่นปราศจากไอออน (deionized water) ใหถึงขีดปริมาตรที่คอขวด

4.2.4. ปดฝาขวดเชิงปริมาตรใหสนิทแลวคว่ําหงายขวดหลาย ๆ คร้ัง เพื่อใหสารละลายเปนเนื้อเดียวกัน 5. การเจือจางสารละลายเผื่อใชใหมีความเขมขนตาง ๆ

จากสูตร C1V1 = C2V2

เมื่อ C1 = ความเขมขนของสารละลายเผื่อใช C2 = ความเขมขนของสารละลายเจือจางที่ตองการ V1 = ปริมาตรของสารละลายเผื่อใชที่ตองใช V2 = ปริมาตรของสารละลายเจือจางที่ตองการ ตัวอยางการคํานวณ การเจือจางสารละลาย Pb ความเขมขน 100 mg/L เปน 0.05 mg/L จากสูตร C1V1 = C2V2

โดย C1 = ความเขมขนของ Pb 100 mg/L V1 = ปริมาตรของ Pb 100 mg/L ที่ตองใช

C2 = ความเขมขนของ Pb ที่เจือจางคือ 0.05 mg/L V2 = ปริมาตรของสารละลายเจือจางที่ตองการเตรียมคือ 30 L แทนคาในสูตร (100 mg/L)( V1) = (0.05 mg/L)(30,000 mL) V1 = = 15 mL (0.05 m 0 g/L)(3 ,000 mL)

(100 mg/L)

ดังนั้น ปเปตตสารละลาย Pb 100 mg/L ปริมาตร 15 mL ลงในภาชนะแลวเติมน้ําใหครบ 30 L

Page 19: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

65

 

 

6. การคํานวณความเขมขนของโลหะหนักในหนวยตัวอยาง การคํานวณความเขมขนของทองแดง (Cu) ในตัวอยางน้ํา ตัวอยางน้ําหมายเลข 01A ตัวอยางน้ําปริมาตร 100 mL ทําการยอยแลวปรับปริมาตรเปน 25 mL

ความเขมขนของทองแดงที่อานไดจากการเทียบกราฟมาตรฐาน เมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer คือ 0.199 mg/L หมายความวา ในสารละลายปริมาตร 1000 mL จะมีทองแดงอยู 0.199 mg ถาในสารละลายตัวอยางปริมาตร 25 mL จะมีทองแดงอยู

0.199 x 25

1000 = 0.0050 mg เนื่องจากการวิเคราะหใชตัวอยางน้ําปริมาตร 100 mL แสดงวา ในตัวอยางน้ําปริมาตร 100 mL จะมีทองแดงอยู 0.0050 mg ถาในตัวอยางน้ํา 1000 mL จะมีทองแดงอยู = 0.050 mg/L ดังนั้น ตัวอยางน้ํา 01A ปริมาตร 100 mL มีความเขมขนของทองแดงเทากับ 0.050 mg/L

0.0050 x 1000

100

การคํานวณความเขมขนของสังกะสี (Zn) ในตัวอยางน้ํา ตัวอยางน้ําหมายเลข 01A ตัวอยางน้ําปริมาตร 100 mL ทําการยอยแลวปรับปริมาตรเปน 25 mL

ความเขมขนของสังกะสีที่อานไดจากการเทียบกราฟมาตรฐาน เมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer คือ 1.6474mg/L หมายความวา ในสารละลายปริมาตร 1000 mL จะมีสังกะสีอยู 1.6474 mg 1.6474 x 25

1000 ถาในสารละลายตัวอยางปริมาตร 25 mL จะมีสังกะสีอยู

= 0.0412 mg

Page 20: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

66

 

 

เนื่องจากการวิเคราะหใชตัวอยางน้ําปริมาตร 100 mL แสดงวา ในตัวอยางน้ําปริมาตร 100 mL จะมีสังกะสีอยู 0.0412 mg ถาในตัวอยางน้ํา 1000 mL จะมีสังกะสีอยู = 0.412 mg/L 1 0

ดังนั้น ตัวอยางน้ํา 01A ปริมาตร 100 mL มีความเขมขนของสังกะสีเทากับ 0.412 mg/L

0.04 2 x 100

100

การคํานวณความเขมขนของตะกั่ว (Pb) ในตัวอยางน้ํา ตัวอยางน้ําหมายเลข 01A ตัวอยางน้ําปริมาตร 100 mL ทําการยอยแลวปรับปริมาตรเปน 25 mL

ความเขมขนของตะกั่วที่อานไดจากการเทียบกราฟมาตรฐาน เมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer คือ 0.19 mg/L หมายความวา ในสารละลายปริมาตร 1000 mL จะมีตะกั่วอยู 0.19 mg 0.19 x 25

1000 ถาในสารละลายตัวอยางปริมาตร 25 mL จะมีตะกั่วอยู

= 0.0048 mg เนื่องจากการวิเคราะหใชตัวอยางน้ําปริมาตร 100 mL แสดงวา ในตัวอยางน้ําปริมาตร 100 mL จะมีตะกั่วอยู 0.0048 mg ถาในตัวอยางน้ํา 1000 mL จะมีตะกั่วอยู = 0.048 mg/L ดังนั้น ตัวอยางน้ํา 01A ปริมาตร 100 mL มีความเขมขนของตะกั่วเทากับ 0.048 mg/L

0.0048 x 1000

100

Page 21: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

67

 

 

การคํานวณความเขมขนของทองแดง (Cu) ในตัวอยางพืช ตัวอยางพืชหมายเลข 01A ตัวอยางพืชหนัก 0.3108 g (น้ําหนักแหง) ทําการยอยแลวปรับปริมาตรเปน 50 mL

ความเขมขนของทองแดงที่อานไดจากการเทียบกราฟมาตรฐาน เมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer คือ 0.140 mg/L หมายความวา ในสารละลายปริมาตร 1000 mL จะมีทองแดงอยู 0.140 mg ถาในสารละลายตัวอยางปริมาตร 50 mL จะมีทองแดงอยู 0.140 x 50

1000 = 0.0070 mg เนื่องจากการวิเคราะหใชตัวอยางพืชหนัก 0.3108 g แสดงวา ในตัวอยางพืชหนัก 0.3108 g จะมีทองแดงอยู 0.0070 mg ถาในตัวอยางพืช 1000 mL จะมีทองแดงอยู = 22.5225 mg/kg ดังนั้น ตัวอยางพืช 01A หนัก 0.3108 g มีความเขมขนของทองแดงเทากับ 22.5225 mg/kg

0.0070 x 1000

0.3108

การคํานวณความเขมขนของสังกะสี (Zn) ในตัวอยางพืช ตัวอยางพืชหมายเลข 01A ตัวอยางพืชหนัก 0.3108 g (น้ําหนักแหง) ทําการยอยแลวปรับปริมาตรเปน 50 mL

ความเขมขนของสังกะสีที่อานไดจากการเทียบกราฟมาตรฐาน เมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer คือ 1.0402 mg/L หมายความวา ในสารละลายปริมาตร 1000 mL จะมีสังกะสีอยู 1.0402 mg

1.0402 x 50

1000 ถาในสารละลายตัวอยางปริมาตร 50 mL จะมีสังกะสีอยู

= 0.0520 mg

Page 22: ภาคผนวก - Kasetsart University › SpecialProject › General...ภาคผนวก จ วิธีีการเตรยมสารละลายเผื่

68

 

 

เนื่องจากการวิเคราะหใชตัวอยางพืชหนัก 0.3108 g แสดงวา ในตัวอยางพืชหนัก 0.3108 g จะมีสังกะสีอยู 0.0520 mg ถาในตัวอยางพืช 1000 mL จะมีสังกะสีอยู = 167.3423 mg/kg 20 x 1000

ดังนั้น ตัวอยางพืช 01A หนัก 0.3108 g มีความเขมขนของสังกะสีเทากับ 167.3423 mg/kg

0.05

0.3108

การคํานวณความเขมขนของตะกั่ว (Pb) ในตัวอยางพืช ตัวอยางพืชหมายเลข 01A ตัวอยางพืชหนัก 0.3108 g (น้ําหนักแหง) ทําการยอยแลวปรับปริมาตรเปน 50 mL

ความเขมขนของตะกั่วที่อานไดจากการเทียบกราฟมาตรฐาน เมื่อวิเคราะหดวยเครื่อง Atomic Absorption Spectrophotometer คือ 0.01 mg/L หมายความวา ในสารละลายปริมาตร 1000 mL จะมีตะกั่วอยู 0.01 mg

0.01x 50

1000 ถาในสารละลายตัวอยางปริมาตร 50 mL จะมีตะกั่วอยู

= 0.0005 mg เนื่องจากการวิเคราะหใชตัวอยางพืชหนัก 0.3108 g แสดงวา ในตัวอยางพืชหนัก 0.3108 g จะมีตะกั่วอยู 0.0005 mg ถาในตัวอยางพืช 1000 mL จะมีตะกั่วอยู = 1.6088 mg/kg ดังนั้น ตัวอยางพืช 01A หนัก 0.3108 g มีความเขมขนของตะกั่วเทากับ 1.6088 mg/kg

0.0005 x 1000

0.3108