First Order Circuitpws.npru.ac.th/anone/data/files/Week 5_วงจร... · 2020. 3. 23. · ln it...

76
วงจรอันดับหนึ่ง First Order Circuit Arnon Isaramongkolrak Department of Electrical Engineering Nakhon P athom Rajabhat University

Transcript of First Order Circuitpws.npru.ac.th/anone/data/files/Week 5_วงจร... · 2020. 3. 23. · ln it...

  • วงจรอันดับหนึ่ง

    First Order Circuit

    Arnon Isaramongkolrak

    Department of Electrical Engineering

    Nakhon Pathom Rajabhat University

  • หัวข้อการเรียนการสอน

    • ผลตอบสนองทางธรรมชาติของวงจร RL

    • ผลตอบสนองทางธรรมชาติของวงจร RC

    • วงจร RL และ RC ในรูปทั่วไป

    • ฟังก์ชันขั้นบันไดหนึ่งหน่วย

    2

  • วงจรอันดับหนึ่ง

    - ความสัมพันธ์ของกระแสและแรงดันเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลาของตัวเหนี่ยวน า และ ตัวเก็บประจุเป็นดังนี้

    3

    0

    1( ) ( ) (0)

    t

    L Li t v t dt iL

    Ldi

    v Ldt

    C

    dvi C

    dt

    0

    1( ) ( ) (0)

    t

    c cv t i t dt vC

    - ทั้ง และ อยู่ในรูปของสมการอนุพันธ์อันดับหนึ่ง( )Lv t ( )ci t

  • วงจรอันดับหนึ่ง (ต่อ)

    - วงจรอันดับหนึ่งคือ วงจรที่สามารถเขียนหรืออธิบายได้ด้วยสมการอนุพันธ์อันดับหนึ่ง

    4

    - ความสัมพันธ์ของวงจรอันดับหนึ่งคือ กระแสและแรงดันที่สภาวะชั่วครู่ (transient) อาจจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวติและทรัพย์สิน

    - การออกแบบวงจรเพื่อให้ลดค่าของกระแสหรือแรงดันในสภาวะชั่วครู่ จึงเป็นส่ิงส าคัญที่วิศวกรไฟฟ้าต้องพึงพิจารณา

  • ผลตอบสนองทางธรรมชาติของวงจร RL

    ให้ค่าเริ่มต้นของกระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวน า ที่เวลา

    5

    RRv LLv

    ( )i t

    0 0( )i t I

    0t t

    เมื่อ คือ ค่ากระแสเริ่มต้นที่ไหลผ่านตัวต้านทานที่เวลา 0I 0t

  • ผลตอบสนองทางธรรมชาติของวงจร RL (ต่อ)

    6

    RRv LLv

    ( )i t

    อาศัยกฎแรงดันเคอร์ชอฟฟ์ (KVL) จะได้ว่า

    0L Rv v

    L

    div L

    dtเมื่อ และกฏของโอห์ม Rv Ri

    0di

    L Ridt

    di Rdt

    i L

  • ผลตอบสนองทางธรรมชาติของวงจร RL (ต่อ)

    7

    di Rdt

    i L

    ( )

    (0) 0

    1i t t

    i

    Rdi dt

    i L

    0

    ( )

    (0)ln

    i t

    i I

    Ri t

    L

    0

    ( )ln

    i t Rt

    I L

    0( )R

    tLi t I e

    L

    Rเมื่อ เรียกว่า ค่าคงที่ทางเวลา

  • ตรวจสอบความถูกต้องของสมการ

    8

    1.) แทนค่ากลับไปในสมการ จะได้0diL Ridt

    0 0 0R R

    t tL L

    RL I e RI e

    L

    2.) แทนค่า จะได้0t

    0

    0 0( 0)i t I e I

  • ผลตอบสนองทางธรรมชาติของวงจร RL (ต่อ)

    9

    0( )R

    tLi t I e

    ค่ากระแส คือผลตอบสนองตามธรรมชาติของวงจร RL เมื่อมีค่าเริ่มต้นเท่ากับ จะมีค่าลดลงในลักษณะที่เป็นฟังก์ชันเอ็กโพเนนเชียลเมื่อเวลาเพิ่มขึ้น

    ( )i t

    0I

    แล้วเราจะหาค่า ได้อย่างไร???????0I

  • การพิจารณาวงจร RL เพื่อหาค่าเริ่มต้น

    10

    -ก าหนดให้แหล่งจ่ายกระแสอิสระจ่ายกระแสคงที่เท่ากับ โดยที่สวิตซ์ อยู่ในต าแหน่งปิดเป็นระยะเวลานาน ( )

    si R LLv

    ( )i t

    0R

    0t

    Asi

    0t

    -เมื่อกระแสในวงจรมีค่าคงที่ ส่งผลให้แรงดันและกระแสทุกจุดในวงจรมีค่าคงที่ด้วย

  • การพิจารณาวงจร RL เพื่อหาค่าเริ่มต้น (ต่อ)

    11

    จาก เมื่อกระแสไหลผ่านตัวเหนี่ยวน ามีค่าคงที่ (เป็นเวลานานมาก)

    si R LLv

    ( )i t

    0R

    0t

    L

    div L

    dt

    ท าให้ นั่นคือ ตัวเหนี่ยวน าลัดวงจรนั่นเอง 0 VLv

    ( 0) si t i จะได้

  • การพิจารณาวงจร RL เพื่อหาค่าเริ่มต้น (ต่อ)

    12

    กระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวน าไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ทันทีทันใด ดังนั้นค่ากระแสช่วงเวลาทันทีทันใดก่อนที่สวิตช์จะถูกเปิดเพียงเล็กน้อย ( ) และค่ากระแสช่วงเวลาทันทีทันใดหลังที่สวิตซ์เปิดเพียงเล็กน้อย ( )

    si R LLv

    ( )i t

    0R

    0t

    0t

    0t

    0(0 ) (0 ) (0)i i i I

  • สรุปขั้นตอนการหาผลตอบสนองทางธรรมชาติของวงจร RL

    13

    ขั้นตอนที่ 1 หาค่าเริ่มต้นของกระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวน า ( ) (0)i

    ขั้นตอนที่ 2 หาค่า R และ L

    0( )R

    tLi t I e

  • ตัวอย่างที่ 1

    14

    จงหาค่ากระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวน า 5 H ที่เวลา t=200ms

    5 H

    ( )i t

    0t

    40

    24 V

    10

  • ตัวอย่างที่ 1

    15

    จงหาค่ากระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวน า 5 H ที่เวลา t=200ms

    วิธีท า ขั้นตอนที่ 1 หาค่ากระแสเริ่มต้น โดยพิจารณาจากวงจรเมื่อเวลา 0I 0t

    5 H

    ( )i t

    0t

    40

    24 V

    10

    L

    (0 )i

    40

    24 V

    10

    0

    24(0 ) (0 ) (0) 2.4 A

    10i i i I

  • ตัวอย่างที่ 1

    16

    จงหาค่ากระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวน า 5 H ที่เวลา t=200ms

    วิธีท า ขั้นตอนที่ 2 พิจารณาวงจรที่เวลา

    5 H

    ( )i t

    0t

    40

    24 V

    10

    0t

    ( )i t

    40

    10

    5 H

    0( 2.4 A)I

    หาค่า R/L จะได้ว่า

    150 5 10 sR L

  • ตัวอย่างที่ 1

    17

    จงหาค่ากระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวน า 5 H ที่เวลา t=200ms

    วิธีท า จะได้ผลตอบสนองตามธรรมชาติของกระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวน า 5H เป็นดังนี้

    10

    0( ) 2.4 AR

    ttLi t I e e

    ดังนั้นที่เวลา t=200ms จะได้310(200 10 )( 200 ms.) 2.4 0.3248 Ai t e

    สังเกตว่า ที่เวลา เรียกว่า ผลตอบสนองทางธรรมชาติ เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงเวลาที่ตัวเหนี่ยวน าปล่อยพลังงานสะสมไปยังตัวต้านทานในวงจร

    0t

    ตอบ

  • ตัวอย่างที่ 2

    18

    ก าหนดให้ จงวิเคราะห์หา และ ส าหรับเวลา 0 10i A ixi 0t

    วิธีท า เนื่องจากวงจรมีแหล่งจ่ายแรงดันไม่อิสระอยู่ จึงไม่สามารถวิเคราะห์หาความต้านทานสมมูลได้

    การแก้ปัญหากระท าได้โดย ตัดตัวเหนี่ยวน าออกจากวงจร แล้วแทนที่ด้วยแหล่งจ่ายแรงดันขนาด 1V แล้วค านวณหาคา่ความต้านทานสมมูลได้จาก 1

    ' 'eq

    vR

    i i

  • ตัวอย่างที่ 2

    19

    ก าหนดให้ จงวิเคราะห์หา และ ส าหรับเวลา 0 10i A ixi 0t

    วิธีท า

    พิจารณา Mesh 'i

    11 ' 2 0i i

    12 ' 2 1i i (1)

  • ตัวอย่างที่ 2

    20

    ก าหนดให้ จงวิเคราะห์หา และ ส าหรับเวลา 0 10i A ixi 0t

    วิธีท า

    พิจารณา Mesh1i

    1 1' 2 4 3 ' 0i i i i

    15 ' 6 0i i (2)

  • ตัวอย่างที่ 2

    21

    ก าหนดให้ จงวิเคราะห์หา และ ส าหรับเวลา 0 10i A ixi 0t

    วิธีท า น าสมการที่ (1) และ (2) มาสร้างเป็นเมตริกซ์

    1

    '2 2 1

    5 6 0

    i

    i

    แก้สมการเมตริกซ์จะได้ ' 3i A

    ดังนั้นค่าความต้านทานสมมูลจะได้ 13

    eqR

    ดังนั้นค่าคงตัวทางเวลามีค่าเป็น 0.5 1.51

    3

    Ls

    R

  • ตัวอย่างที่ 2

    22

    ก าหนดให้ จงวิเคราะห์หา และ ส าหรับเวลา 0 10i A ixi 0t

    วิธีท า จะได้กระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวน าเท่ากับ

    จะได้

    0t

    i t I e

    แรงดันที่ตกคร่อมตัวเหนี่ยวน าเท่ากับ

    1.510t

    i t e A

    ตอบ

    0t

    Lv t R i t R I e

    1.51

    103

    t

    Lv t e

    จะได้

    1.510

    3

    t

    Lv t e V

  • ตัวอย่างที่ 2

    23

    ก าหนดให้ จงวิเคราะห์หา และ ส าหรับเวลา 0 10i A ixi 0t

    วิธีท า จากกฎของโอห์ม และขั้วของแรงดันที่ตกคร่อมตัวต้านทาน สามารถหาค่ากระแส ได้ดังนี้

    ตอบ

    xi

    L

    x

    v ti t

    R

    จะได้ 1.5

    1.5

    10

    3 1.672

    t

    t

    x

    e

    i t e A

  • ตัวอย่างที่ 3

    24

    จากวงจรสวิตซ์อยู่ในสถานะ “ปิด” ด้วยระยะเวลาที่ผ่านมานานแต่เมื่อเวลา t=0 s สวิตซ์เปลี่ยนอยู่ในสถานะ “เปิด” จงวิเคราะห์วงจรเพื่อหาค่า ส าหรับเวลา i t 0t

    วิธีท า การวิเคราะห์จะเริ่มต้นด้วยการค านวณหาค่ากระแสเริ่มต้นของตัวเหนี่ยวน า ในช่วงเวลา ซึ่งตัวเหนี่ยวน าจะได้รับพลังงานจากแหล่งจ่ายกระแสตรง 40V และเปลี่ยนสถานะเป็นลัดวงจร

    0t

  • ตัวอย่างที่ 3

    25

    จากวงจรสวิตซ์อยู่ในสถานะ “ปิด” ด้วยระยะเวลาที่ผ่านมานานแต่เมื่อเวลา t=0 s สวิตซ์เปลี่ยนอยู่ในสถานะ “เปิด” จงวิเคราะห์วงจรเพื่อหาค่า ส าหรับเวลา i t 0t

    วิธีท า

    0t

  • ตัวอย่างที่ 3

    26

    จากวงจรสวิตซ์อยู่ในสถานะ “ปิด” ด้วยระยะเวลาที่ผ่านมานานแต่เมื่อเวลา t=0 s สวิตซ์เปลี่ยนอยู่ในสถานะ “เปิด” จงวิเคราะห์วงจรเพื่อหาค่า ส าหรับเวลา i t 0t

    วิธีท า 0t

    1 2 4 //12eqR

    1

    4 122 5

    4 12eqR

  • ตัวอย่างที่ 3

    27

    จากวงจรสวิตซ์อยู่ในสถานะ “ปิด” ด้วยระยะเวลาที่ผ่านมานานแต่เมื่อเวลา t=0 s สวิตซ์เปลี่ยนอยู่ในสถานะ “เปิด” จงวิเคราะห์วงจรเพื่อหาค่า ส าหรับเวลา i t 0t

    วิธีท า 0t

    1

    400 8

    5s

    eq

    Vi t A

    R ค านวณหาค่ากระแส จะได้ si t

    อาศัยกฎการแบ่งกระแสค านวณหากระแส จะได้ว่า 0sci t

    012 8

    0 612 4

    sc

    Ai t A I

  • ตัวอย่างที่ 3

    28

    จากวงจรสวิตซ์อยู่ในสถานะ “ปิด” ด้วยระยะเวลาที่ผ่านมานานแต่เมื่อเวลา t=0 s สวิตซ์เปลี่ยนอยู่ในสถานะ “เปิด” จงวิเคราะห์วงจรเพื่อหาค่า ส าหรับเวลา i t 0t

    วิธีท า 0t สวิตซ์เปลี่ยนสถานะจาก “ปิด” เป็น “เปิด” จะได้

    0t

  • ตัวอย่างที่ 3

    29

    จากวงจรสวิตซ์อยู่ในสถานะ “ปิด” ด้วยระยะเวลาที่ผ่านมานานแต่เมื่อเวลา t=0 s สวิตซ์เปลี่ยนอยู่ในสถานะ “เปิด” จงวิเคราะห์วงจรเพื่อหาค่า ส าหรับเวลา i t 0t

    วิธีท า0t ค านวณหาค่าความต้านทานสมมูลจะได้ว่า

    2 4 12 // 16eqR

    216 16

    16 // 16 816 16

    eqR

    ค่าคงตัวทางเวลาของวงจรมีค่าเท่ากับ2

    20.25

    8eq

    Ls

    R

    จะได้กระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวน าที่เวลา 0t

    0.250 6t t

    i t I e e A

    ตอบ

  • โจทย์ปัญหา 1

    30

    จงหาค่า ที่เวลา ( )Li t 0t

    20 0.2 H

    ( )Li t

    10

    50

    100 V

    0t

    400( ) 2 A, 0tLi t e t ตอบ

  • การบ้านครั้งที่ 3

    31

    1). จงหาค่า และ ที่เวลา ( )Li t 0t 1( )i t

  • การบ้านครั้งที่ 3

    32

    2). จากวงจร จงวิเคราะห์หา

    2.1) กระแส ที่เวลา

    2.2) กระแส

    2.3) กระแส

    ( )Li t 0t

    60 (100 )i s

    48 (200 )i s

  • ผลตอบสนองทางธรรมชาติของวงจร RC

    33

    วงจร RC ที่ไม่มีแหล่งจ่าย ก าหนดให้ คือแรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุที่เวลา สมการเคอร์ชอฟฟข์องโหนด a จะได้ว่า

    0V

    0t s

    0c Ri i

    แทนค่า และ cdv

    i Cdt

    R

    vi

    R

    0dv v

    Cdt R

  • ผลตอบสนองทางธรรมชาติของวงจร RC

    34

    dv vC

    dt R

    vCdv dt

    R

    vdv dt

    RC

    1dvdt

    v RC

    1dvdt

    v RC

    lnt

    v MRC

    ln ln lnt

    MRCv e e

  • ผลตอบสนองทางธรรมชาติของวงจร RC

    35

    ln ln lnt

    MRCv e e

    ln ln lnt t

    MRC RCcv e e K e

    t

    RCcv K e

    0

    0RC

    c cV K e K

    ที่เวลา t=0s แรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุ จะมีค่า 0V

    จะได้ว่า 0

    t

    RCv t V e

  • ผลตอบสนองทางธรรมชาติของวงจร RC

    36

    กระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานและตัวเก็บประจุจะได้ว่า

    0

    t

    RCR

    Vvi e

    R R

    0

    t

    v V e

    ค่าคงตัวทางเวลาของวงจร RC จะได้ RC

  • ตัวอย่างที่ 4

    37

    ก าหนดให้ จงวิเคราะห์หาค่า ส าหรับเวลา

    0 15cv V , ,c x xv v i

    0t

    วิธีท า ค านวณหาค่าความต้านทานสมมูลจะได้ว่า 5 // 8 12

    5 12 84

    5 12 8eqR

  • ตัวอย่างที่ 4

    38

    ก าหนดให้ จงวิเคราะห์หาค่า ส าหรับเวลา

    0 15cv V , ,c x xv v i

    0t

    วิธีท า ค านวณค่าคงตัวทางเวลาจะได้ว่า

    4 0.1 0.4eqR C s

    จะได้ค่าแรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุส าหรับ คือ 0t

    0.415t

    cv t e V

    ตอบ

    อาศัยกฏการแบ่งแรงดันจะได้ว่า

    12

    12 8x cv t v t

    0.4 0.4

    1215 9

    12 8

    t t

    xv t e e V

    ตอบ

  • ตัวอย่างที่ 4

    39

    ก าหนดให้ จงวิเคราะห์หาค่า ส าหรับเวลา

    0 15cv V , ,c x xv v i

    0t

    วิธีท า ค านวณกระแส จะได้ว่า

    ตอบ

    xi

    0.49

    12 12

    t

    x

    x

    v t ei t

    0.4750t

    xi t e A

  • ตัวอย่างที่ 5

    40

    จงวิเคราะห์หาแรงดัน ส าหรับเวลา และพลังงานเริ่มต้นที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุ

    cv t 0t

    วิธีท า พิจารณาที่เวลา สวิตซ์อยู่ในสถานะ “ปิด” ท าให้ตัวเก็บประจุได้รับพลังงานจากแหล่งจ่าย 20V ซึ่งอยู่ในสถานะเปิดวงจร จะท าให้ไม่มีกระแสไหลผ่านตัวต้านทาน

    0t

    1

  • ตัวอย่างที่ 5

    41

    จงวิเคราะห์หาแรงดัน ส าหรับเวลา และพลังงานเริ่มต้นที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุ

    cv t 0t

    วิธีท า

    09

    0 20 153 9

    ocv t V V V

  • ตัวอย่างที่ 5

    42

    จงวิเคราะห์หาแรงดัน ส าหรับเวลา และพลังงานเริ่มต้นที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุ

    cv t 0t

    วิธีท า พิจารณาที่เวลา สวิตซ์อยู่ในสถานะ “เปิด”0t

    ค่าความต้านทานสมมูลของวงจรสามารถหาได้ดังนี้

    9 1 10eqR

  • ตัวอย่างที่ 5

    43

    จงวิเคราะห์หาแรงดัน ส าหรับเวลา และพลังงานเริ่มต้นที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุ

    cv t 0t

    วิธีท า ค านวณค่าคงที่ทางเวลาจะได้ว่า

    310 20 10 0.2eqR C s

    จะได้ค่าแรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุ ส าหรับเวลา 0t

    50.20 15 15t t

    t

    cv t V e e e V

    ตอบ

    พลังงานเริ่มต้นที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุคือ

    2 31 1

    0 0 20 10 15 2.252 2

    c cw Cv J ตอบ

  • ตัวอย่างที่ 6

    44

    จงวิเคราะห์หาแรงดัน ส าหรับเวลา และพลังงานเริ่มต้นที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุ

    cv t 0t

    วิธีท า พิจารณาที่เวลา สวิตซ์อยู่ในสถานะ “ปิด” ท าให้ตัวเก็บประจุได้รับพลังงานจากแหล่งจ่าย 24V ซึ่งอยู่ในสถานะเปิดวงจร

    0t

  • ตัวอย่างที่ 6

    45

    จงวิเคราะห์หาแรงดัน ส าหรับเวลา และพลังงานเริ่มต้นที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุ

    cv t 0t

    วิธีท า

    12 43

    12 4eqR

  • ตัวอย่างที่ 6

    46

    จงวิเคราะห์หาแรงดัน ส าหรับเวลา และพลังงานเริ่มต้นที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุ

    cv t 0t

    วิธีท า

    12 43

    12 4eqR

    0

    324 8

    3 6ocv V V

    แบ่งแรงดันจะได้

  • ตัวอย่างที่ 6

    47

    จงวิเคราะห์หาแรงดัน ส าหรับเวลา และพลังงานเริ่มต้นที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุ

    cv t 0t

    วิธีท า ที่เวลา t=0s สวิตซ์เปลี่ยนสถานะจาก “ปิด” เป็น “เปิด” จะได้วงจรดังนี้

    2

    12 43

    12 4eqR

  • ตัวอย่างที่ 6

    48

    จงวิเคราะห์หาแรงดัน ส าหรับเวลา และพลังงานเริ่มต้นที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุ

    cv t 0t

    วิธีท า ค านวณค่าคงที่ทางเวลาจะได้ว่า

    2

    13 0.5

    6eqR C s

    แรงดัน ที่เวลา มีค่าเท่ากับ cv t 0t

    20.50 8 8t t

    t

    cv t V e e e V

    ตอบ

    พลังงานที่เร่ิมสะสมในตัวเก็บประจุเท่ากับ

    0

    2 21 1 10 0 8 5.33

    2 2 6cw Cv J

    ตอบ

  • โจทย์ปัญหา 2

    49

    จงหาค่าแรงดัน และ (0)v

    (0) 50 , (2 ) 14.33v V v ms V ตอบ

    (2 )v ms

  • การบ้านครั้งที่ 4

    50

    1). จงหาแรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุที่เวลา และ 0t 0t

  • การบ้านครั้งที่ 4

    51

    2). สวิตซ์เชื่อมต่อกับต าแหน่ง 1 ด้วยระยะเวลาที่นานมาก แต่เปลี่ยนไปเชื่อมต่อกับต าแหน่ง 2 ที่เวลา t=0s จนถึงเวลา t=2s จึงกลับไปเชื่อมต่อกับต าแหน่ง 1 จงวิเคราะห์หาแรงดัน ส าหรับเวลา 0t v t

  • ฟังก์ชันขั้นบันไดหนึ่งหน่วย

    52

    เป็นฟังก์ชันที่สามารถใช้แทนการท างานของสวิตซ์ในวงจรได้

    สมการทางคณิตศาสตร์ที่สามารถน ามาอธิบายฟังก์ชันหนึ่งหน่วยคือ

    0t0

    1

    0( )u t t

    t

    0

    0

    0

    0 ;( )

    1 ;

    t tu t t

    t t

  • ฟังก์ชันขั้นบันไดหนึ่งหน่วย (ต่อ)

    53

    ในกรณีที่ กราฟที่ได้จะเป็นลักษณะอย่างไร ?????

    0t0

    1

    0( )u t t

    t

    0

    0

    0

    0 ;( )

    1 ;

    t tu t t

    t t

    0 0t

    0

    1

    ( )u t

    t

    0 ; 0( )

    1 ; 0

    tu t

    t

    การแทนพฤติกรรมการท างานของสวิตซ์ที่ต่อกับแหล่งก าเนิดด้วยด้วยฟังก์ชัน สามารถท าได้โดยการน าแรงดันแหล่งก าเนิดคูณด้วยฟังก์ชัน

    ( )u t

    ( )u t

  • ฟังก์ชันขั้นบันไดหนึ่งหน่วย (ต่อ)

    54

    การแทนพฤติกรรมการท างานของสวิตซ์ท่ีต่อกับแหล่งก าเนิดด้วยด้วยฟังก์ชัน สามารถท าได้โดยการน าแรงดันแหล่งก าเนิดคูณด้วยฟังก์ชัน

    ( )u t

    ( )u t

    ( ) 5 ( 0.2) Vv t u t

    หมายถึง แหล่งก าเนิดแรงดันมีค่าเท่ากับศูนย์ส าหรับทุกๆ ค่าของ ก่อนเวลา และจะมีแรงดันเท่ากับ 5V หลังจากที่เวลา

    t 0.2 s.t

    0.2 s.t

    5 ( 0.2) Vu t

    0.2 s.t

    5 V

    0.2 s.t

    5 V

    a

    b

  • ฟังก์ชันขั้นบันไดหนึ่งหน่วย (ต่อ)

    55

    5 ( 0.2) Vu t สามารถแทนได้ด้วยแหล่งจ่ายแรงดันอนุกรมอยู่กับสวิตซ์ ซึ่งสวิตซ์นี้จะปิดที่เวลา 0.2 s.t

    0.2 s.t

    5 V

    เมื่อสวิตซ์ปิดที่เวลา และช่วงเวลาหลังจากเวลา นั่นคือ แหล่งก าเนิดแรงดัน 5V ต่ออยู่กับวงจรทั่วไปในขณะที่เวลาก่อน แรงดันที่ขั้วต่อกับวงจรทั่วไปอาจจะมีค่าเป็นเท่าใดก็ได้เพราะแหล่งก าเนิดแรงดัน 5V เปิดวงจรอยู่ ไม่ได้ต่อกับวงจรทั่วไป

    0.2 s.t

    0.2 s.t

    0.2 s.t

    จะเห็นว่าภาพที่ 1 ไม่สมมูลกับภาพที่ 2 ที่ช่วงเวลาก่อน

    1

    2

    0.2 s.t

  • ฟังก์ชันขั้นบันไดหนึ่งหน่วย (ต่อ)

    56

    วงจรสมมูลที่ถูกต้องและสอดคล้องกับภาพที่ 1 ส าหรับทุกๆ ช่วงเวลา

    0.2 s.t

    5 V

    a

    b

    5 ( 0.2) Vu t

    ที่เวลาก่อน สวิตซ์อยู่ท่ีต าแหน่ง a ท าให้แรงดันมีค่าเท่ากับศูนย์0.2 s.t

    ที่เวลาหลัง สวิตซ์อยู่ท่ีต าแหน่ง b ท าให้แรงดันมีค่าเท่ากับ 5V0.2 s.t

    จากวงจรแสดงให้เห็นว่า การท างานของสวิตช์สามารถแทนได้ด้วยฟังก์ชันขั้นบันไดหนึ่งหน่วยได้

  • ฟังก์ชันขั้นบันไดหนึ่งหน่วย (ต่อ)

    57

    กรณีน าฟังก์ชัน มาใช้กับแหล่งก าเนิดกระแส ( )u t

    0 0( ) AI t t 0t t

    0 AI

    a

    b

    0 AI

    0t t1 2

    3

    ภาพที่ 1 และ 2 จะสมมูลกันที่เวลาหลังจาก เท่านั้น 0t t

    ภาพที่ 3 และ 1 จะสมมูลกันทุกช่วงเวลา

    ภาพที่ 2 สามารถใช้แทนภาพที่ 1 ได้ ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขคือ ค่าเริ่มต้นของวงจรที่เวลาก่อน ต้องมีค่าเท่ากัน

    0t t

  • ฟังก์ชันขั้นบันไดหนึ่งหน่วย (ต่อ)

    58

    สรุปแนวคิด ฟังก์ชัน ที่ใช้งานส าหรับ( )u t

    - แหล่งก าเนิดแรงดัน เช่น แหล่งก าเนิดแรงดันจะลัดวงจรที่เวลา ( )sV u t 0t

    - แหล่งก าเนิดกระแส เช่น แหล่งก าเนิดกระแสจะเปิดวงจรที่เวลา ( )sI u t 0t

  • ตัวอย่างที่ 7

    59

    จงเขียนวงจรที่เวลา และ 0t

    วิธีท า วงจรที่

    0t

    5 ( ) Vu t 5 H

    10

    0t ( ) 0u t

    แหล่งจ่ายแรงดัน 5 ( ) V 0 Vu t ลัดวงจร

    5 H

    10

  • ตัวอย่างที่ 7

    60

    จงเขียนวงจรที่เวลา และ 0t

    วิธีท า วงจรที่

    0t

    5 ( ) Vu t 5 H

    10

    ( ) 1u t

    แหล่งจ่ายแรงดัน 5 ( ) V 5 Vu t

    0t

    5 V 5 H

    10

  • ตัวอย่างที่ 8

    61

    จงเขียนวงจรที่เวลา และ 0t

    วิธีท า วงจรที่

    0t

    0t ( ) 0u t

    แหล่งจ่ายกระแส 5 ( ) A 0 Au t เปิดวงจร

    5 ( ) Au t 10 3 F

    10 3 F

  • ตัวอย่างที่ 8

    62

    จงเขียนวงจรที่เวลา และ 0t

    วิธีท า วงจรที่

    0t

    ( ) 1u t

    แหล่งจ่ายกระแส 5 ( ) A 5 Au t

    0t

    5 ( ) Au t 10 3 F

    5 A 10 3 F

  • ผลตอบสนองของวงจร RL เมื่อได้รับสัญญาณอินพุตแบบขั้นบันได

    63

    พิจารณาวงจรที่เชื่อมต่อแหล่งจ่ายแรงดันแบบทันทีทันใด ที่เวลา

    KVL;

    0 ( ) VV u t

    ( )i t

    R

    L

    0t

    0 ( ) 0di

    Ri L V u tdt

    0

    1

    ( )u t

    t

    0 ; 0( )

    1 ; 0

    tu t

    t

    พิจารณา0

    diRi L V

    dt

    0

    Ldidt

    V Ri

    0ln( )

    LV Ri t k

    R

    อินทิเกรต

    0t

  • ผลตอบสนองของวงจร RL เมื่อได้รับสัญญาณอินพุตแบบขั้นบันได (ต่อ)

    64

    พิจารณาหาค่า

    อาศัยค่าเริ่มต้นของ ทราบว่า ก่อนเวลาที่

    ดังนั้นจาก

    k

    และกระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวน าไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแบบทันทีทันใดได้จะได้

    ( )i t

    0ln( )L

    V Ri t kR

    0t (0 ) 0 Ai

    (0 ) (0 ) (0) 0 Ai i i

    0ln( )L

    V Ri t kR

    0ln( )L

    k VR

  • ผลตอบสนองของวงจร RL เมื่อได้รับสัญญาณอินพุตแบบขั้นบันได (ต่อ)

    65

    แทนค่า

    0ln( )L

    k VR

    0 0ln( ) ln( )L L

    V Ri t VR R

    0 0ln( ) ln( )L

    V Ri V tR

    0

    0

    lnV RiL

    tR V

    ย้ายข้างและจัดหมู่คุณสมบัติฟังก์ชัน log

    0

    0

    lnV Ri Rt

    V L

    ย้ายข้าง

    0

    0

    , tR

    tL

    V Ri Le e

    V R

    0 0( )

    tV V

    i t eR R

  • ผลตอบสนองของวงจร RL เมื่อได้รับสัญญาณอินพุตแบบขั้นบันได (ต่อ)

    66

    ส าหรับ ทุกๆ ค่า ( )i t t

    0 0( ) ( )t

    V Vi t e u t

    R R

  • ผลตอบสนองของวงจร RL เมื่อได้รับสัญญาณอินพุตแบบขั้นบันได (ต่อ)

    67

    สรุปแนวคิด

    ขั้นตอนที่ 1: ก าหนดให้ ( ) , 0t

    fi t i Ae t

    ผลตอบสนองในสภาวะอยู่ตัว

    ค่าคงที่

    ขั้นตอนที่ 2: ขั้นตอนการเก็บข้อมูล

    วงจรที่เวลา ( ) ตัวเหนี่ยวน าลัดวงจร0t 0t

    ค านวณหาค่ากระแสตั้งต้นของตัวเหนี่ยวน า (0 ) (0 ) (0)i i i

    วงจรที่เวลา แบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ 0t

    0t และ t

  • ผลตอบสนองของวงจร RL เมื่อได้รับสัญญาณอินพุตแบบขั้นบันได (ต่อ)

    68

    สรุปแนวคิด (ต่อ)

    ขั้นตอนที่ 2: วงจรที่เวลา 0t ค านวณหาค่าคงที่ทางเวลา

    t วงจรที่เวลา

    ช่วงนี้จะเป็นตัวบอกว่า วงจรมีผลตอบสนองแบบใดบ้าง

    ธรรมชาติ (ไม่มีแหล่งจ่าย)อยู่ตัว+ธรรมชาติ (มีแหล่งจ่าย)

    ค านวณค่ากระแสในสถานะอยู่ตัว

    ( ) fi i (ตัวเหนี่ยวน าจะลัดวงจร)

    **กระแสที่ค านวณได้คือ ผลตอบสนองในสถานะอยู่ตัว เมื่อวงจรได้รับอินพุตแบบขั้นบันได

  • ผลตอบสนองของวงจร RL เมื่อได้รับสัญญาณอินพุตแบบขั้นบันได (ต่อ)

    69

    สรุปแนวคิด (ต่อ)

    ขั้นตอนที่ 3: ขั้นตอนการค านวณ

    ใช้สมการ

    (ได้จากขั้นตอนที่ 2)ค านวณค่า A ของสมการจากค่า

    วาดกราฟและวงจร และสรุปค าตอบที่ค านวณได้

    ( )t

    fi t i Ae

    (0 ) (0 ) (0)i i i

  • ตัวอย่างที่ 9

    70

    จงค านวณหา ที่เวลา ใดๆ

    วิธีท า

    t

    ขั้นตอนที่ 1: ก าหนดให้

    ( )Li t

    50 V 3 H

    2

    6

    50 ( ) Vu t

    ( )Li t

    ( )t

    fi t i Ae

    ขั้นตอนที่ 2: วงจรที่เวลา ( ) ตัวเหนี่ยวน าลัดวงจร 0t 0t ( ) 0u t

    50 V

    2

    6

    (0 )Li

    L

  • ตัวอย่างที่ 9

    71

    จงค านวณหา ที่เวลา ใดๆ

    วิธีท า

    t( )Li t

    ขั้นตอนท่ี 2: จากวงจร

    50 V

    2

    6

    (0 )Li

    L

    (0 ) (0 ) (0) 50 2 25 AL L Li i i

    ที่เวลา วงจรที่ ท าให้ 0t 0t ( ) 1u t 50 ( ) 50u t V

    แหล่งก าเนิดแรงดันมาเชื่อมต่อกับวงจรแบบทันทีทันใด

    50 V 3 H

    2

    6

    50 V

    ( )Li t

  • ตัวอย่างที่ 9

    72

    จงค านวณหา ที่เวลา ใดๆ

    วิธีท า

    t( )Li t

    ผลตอบสนองของวงจร = ผลตอบสนองในสถานะอยู่ตัว + ผลตอบสนองทางธรรมชาติ

    50 V 3 H

    2

    6

    50 V

    ( )Li t

    ค านวณค่าคงที่ทางเวลา: โดยการปลดตัวเหนี่ยวน าออกแล้วหาค่า

    0t

    2

    6

    eqR

    eqR

    2 6 12 8 3 2 eqR

    3 3 / 2 2 s.eqL R

  • ตัวอย่างที่ 9

    73

    จงค านวณหา ที่เวลา ใดๆ

    วิธีท า

    t( )Li t

    ค านวณค่ากระแสในสถานะอยู่ตัว ในขณะที่ตัวเหนี่ยวน าลัดวงจร จะได้ว่า

    t 50 V

    2

    6

    50 V

    ( )L fi i

    L

    100( ) 50 A

    2L fi i

    เขียนสมการจะได้ว่า 2( ) 50t t

    L fi t i Ae Ae

    50 Afi

    ขั้นตอนที่ 3: ขั้นตอนการค านวณ

    จากขั้นตอนท่ี 2 จะได้ว่า และ 2 s.

  • ตัวอย่างที่ 9

    74

    จงค านวณหา ที่เวลา ใดๆ

    วิธีท า

    t( )Li t

    t 50 V

    2

    6

    50 V

    ( )L fi i

    L

    ค านวณค่า A จาก

    2( ) 50t t

    L fi t i Ae Ae

    ขั้นตอนท่ี 3: ขั้นตอนการค านวณ

    (0 ) (0 ) (0) 50 / 2 25 AL L Li i i

    ( 0) 50 25Li t A 25A

    2( ) 50 25t

    Li t e

    ที่เวลา 0t

  • ตัวอย่างที่ 9

    75

    จงค านวณหา ที่เวลา ใดๆ

    วิธีท า

    t( )Li t

    ค่ากระแส ที่เวลา ใดๆ ( )Li t t

    2

    25 A, 0( )

    50 25 , 0tL

    ti t

    e t

  • โจทย์ปัญหา 3

    76

    จงค านวณหา 0t

    100 V

    20

    0.5 H5

    0t

    100 V

    ( )Li t

    1) ค่ากระแส ที่เวลา ( )Li t

    2) ค่ากระแส (0 )Li

    3) ค่ากระแส ( )Li

    0t 4) ค่ากระแส ที่เวลา ( )Li t

    15 A

    15 A

    5 A

    40( ) 5 20 AtLi t e