cvc,l...

36
\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ U.:l'I.J'l.h~3J1ru 'V'I.f1. lDct'ct'~ 'IJ£l':Il;h11n.:l1'IJLg't'IJ1'4n1'3m3J cvc,l cv cvodloQ./ ~ n.'V'j. 'U~ (9)O(9)\!J/'d l!:J~ ~'l'd'U'V1 b'J) n'UEJ1EJ'U\!J<f<fm 'VI'U'l61€l611'Un'l1'Un.'V'j. 'V1'U'j (9)oo~.(9)/'d(9)\!J sno ~'l'VI1Fll.J\!J<f<f<f bb~~b~€l1,xm'j'lh~Lil'U~~m'jtl~U~'jl'llm'jbU'U ltJl~lEJ hH'l 161bU'Ui)'j'jl.J bb~~\>l \l61€l'U1~ 6hUn.:Jl'U b~'1Jl'4nl'jml.J~'lnl'V1'U~'VI« nbnruovlbb~~16m'jtl~~ Lil'U~~ nl~tl~U~'jl'llnl~ '1J€l'l-Vll'llnl~'V'j~ b~€l'U611:U'Y 11 b~€l1m m 'Unl~vilb tJ'Unl'j 1'U~~'U'U'U1'V11'j~~m~tl~u~~1'llm'j~1'U'j~'U'U €l€l'U1~ < (PMS Online) ~'l1?1€l1tld -V€l (9)'VI«nbnruovlbb~~16m~tl~~bii'U~~m~tl~U~'jl'llm'j'1J€l'l-Vl~1'llnl'j'V'j~b~€l'U611:U'Yd 1mm m'jtl'j~bii'U~~m'jtl~u~~1'llm'jG11'V1-rm€l'Um'jtl~~bii'U ~'lbbI?11'U~(9)I')mFll.J \!J<f<f~ bu'U(;)'U1tl ~ijtl'j~mi'fuu'U1'V111 -V€l \!J ~tl~~bii'U~~nl~tl~U~'jl'llnl'j'1J€l'l-Vl~1'lln1'j'V'j~b~€l'U611:U'Y1'U~'ln~ G111Jn'l 'Ub~'1Jl'Um~ml.J 1~bbri , l!J.(9)€l5'U~ml.JFld'U~l.J 1 ~Fl tl'j~ bii'U~~m~tl~u~~l'llm'j'1J€l'l-Vl~l'llm~~tl~U~'VI,rl~ l'Um~'1J€l'l€l5U~ml.JFld'UFll.J 1 ~Fl , , \!J.\!J 'j€l'l€l5'U~ml.JFl'dU~l.JbFl tl~~bii'U~~nl'jtl~u~~l'llnl~'1J€l'l-Vl~l'llm'j~tl~u~ 'VI,rl~b 'Ub~'1Jl'Um~'1J€l'l'j€l'l€l5'U~ml.JFl'd'UFll.J 1 'jFl , , l!J.m ~'V1'j'lFlru'd~" ml.JFl'd'UFll.J 1 'jFl tl'j~bii'U~~m~tlfiu~'jl'llm'j'1J€l'l-Vl'jl'llm~~tlfiu~ 'U , , 'I 6J d..J 1.1 d V Cl 'VI'Ul'V1b '1Jl'Um'j~m'lFlru'd~" 'I 'U 'I 'I \!J.e;: b~'1Jl'4rrnrrsu tl~~ bii'Uml nl~tl~u~~l'llm'j'1J€l'l-Vl'jl'llm~Jl1EJ 1~U'lr1'UU'Y'll1~ tl~~ ,rl~bU'U~'d'VI,rln~l.J l!J.<f ~U'lr1'UU'Y'lll'j~~'U~'U (~'d'VI,rln~l.J) tl~~bii'U~~m'jtl~u~'jl'IJm~'1J€l'l-Vl~l'llm'j~ €l~mEJ 'UU'lr1'UUru'lll \J ~ n1~tl 'j~ bii'U-v 1'jl'll rn 'j'V'ja b~€l'U611:Uru m~-r'U l.J€l'U'VIl.J 1EJ1,x1 tl 'lhEJ~1'IJn 1 'j'VI~€l . ~ \J tl~u~'j 'llm'j1 'Uci'd'U~l'IJm'j~'U (1?11'lml.J)1,x~U'lr1'Uu'Y'll11 'U'VI'lhEJ'll'U~-Vl'jl'llm~~lEJtT'U 1tltl~U~'ll'U bU'Um -V€ll.J~bb~~mll.J b~'U b~€ltl'j~ n€l'Unl~tl~~ bii'U~~nl'jtl fiU~'jl'llnl~'1J€l'l'VI'.ld EJ'll'U~'U~'ln~ \J \J ;.J '1J€l..:l-Vl'llm'j~lEJtT'U bu'U~tl'j~ bii'U~~m~tl~u~~l'llm~ EJnb1'Umru-Vl'jl'llm'j'V'j~ b~€l'U611:U'Y 1~1~-r'U l.J€l'U'VIlEJ1 m tl'li'd EJ~l'llnl~'VI~€ltl~U~'jl'll nl'j1 'U'VI'IhEJ..:Il'U ~'Udi'UM..:I'VItl..:l'1J€l..:l'j€l'U nl'jtl~~ bii'U~ ~ nl'j tl~u~h 'llnl'j 1,x~d'I1,r lci'd'U'jl'IJnl'j'VI~€l'VI,h EJ ..:Il'U~-Vl'jl'll nl'j~tT'U 1tl'li'dEJ~1'llm~'VI~€ltl~U~'jl'll nl'j ij'VI,rl~ ~~ bii'U~~m'jtl~~~l'llm'j'1J€l'l-Vl'jl'llm~~..:I n~l'd

Transcript of cvc,l...

Page 1: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

U.:l'I.J'l.h~3J1ru 'V'I.f1. lDct'ct'~ 'IJ£l':Il;h11n.:l1'IJLg't'IJ1'4n1'3m3J

cvc,l cv cvodloQ./ ~n.'V'j. 'U~ (9)O(9)\!J/'d l!:J~ ~'l'd'U'V1 b'J) n'UEJ1EJ'U\!J<f<fm 'VI'U'l61€l611'Un'l1'Un.'V'j. 'V1'U'j (9)oo~.(9)/'d(9)\!J

sno ~'l'VI1Fll.J\!J<f<f<f bb~~b~€l1,xm'j'lh~Lil'U~~m'jtl~U~'jl'llm'jbU'U ltJl~lEJhH'l 161 bU'Ui)'j'jl.J

bb~~\>l \l61€l'U1~ 6hUn.:Jl'U b~'1Jl'4nl'jml.J~'lnl'V1'U~'VI« n bnruovlbb~~16m'jtl~~ Lil'U~~ nl~tl~U~'jl'llnl~

'1J€l'l-Vl l'llnl~'V'j~ b~€l'U611:U'Y11 b~€l1m m 'Unl~vilb tJ'Unl'j 1'U~~'U'U'U1'V11'j~~m~tl~u~~1'llm'j~1'U'j~'U'U

€l€l'U1~ < (PMS Online) ~'l1?1€l1tld

-V€l (9)'VI«nbnruovlbb~~16m~tl~~bii'U~~m~tl~U~'jl'llm'j'1J€l'l-Vl~1'llnl'j'V'j~b~€l'U611:U'Yd

1mm m'jtl'j~bii'U~~m'jtl~u~~1'llm'jG11'V1-rm€l'Um'jtl~~bii'U ~'lbbI?11'U~(9)I')mFll.J \!J<f<f~ bu'U(;)'U1tl

~ijtl'j~mi'fuu'U1'V111

-V€l \!J ~tl~~bii'U~~nl~tl~U~'jl'llnl'j'1J€l'l-Vl~1'lln1'j'V'j~b~€l'U611:U'Y1'U~'ln~

G111Jn'l 'Ub~'1Jl'Um~ml.J 1~bbri,l!J.(9)€l5'U~ml.JFld'U~l.J 1~Fl tl'j~ bii'U~~m~tl~u~~l'llm'j'1J€l'l-Vl~l'llm~~tl~U~'VI,rl~

l'Um~'1J€l'l€l5U~ml.JFld'UFll.J 1~Fl, ,\!J.\!J 'j€l'l€l5'U~ml.JFl'dU~l.JbFl tl~~bii'U~~nl'jtl~u~~l'llnl~'1J€l'l-Vl~l'llm'j~tl~u~

'VI,rl~b 'Ub~'1Jl'Um~'1J€l'l'j€l'l€l5'U~ml.JFl'd'UFll.J1'jFl, ,l!J.m ~'V1'j'lFlru'd~" ml.JFl'd'UFll.J1'jFl tl'j~bii'U~~m~tlfiu~'jl'llm'j'1J€l'l-Vl'jl'llm~~tlfiu~'U , , 'I 6J d..J

1.1 d V Cl

'VI'Ul'V1b'1Jl'Um'j~m'lFlru'd~"'I 'U 'I 'I

\!J.e;: b~'1Jl'4 rrnrrsu tl~~ bii'Uml nl~tl~u~~l'llm'j'1J€l'l-Vl'jl'llm~Jl1EJ 1~U'lr1'UU'Y'll1~

tl~~ ,rl~bU'U~'d'VI,rln~l.J

l!J.<f ~U'lr1'UU'Y'lll'j~~'U~'U (~'d'VI,rln~l.J) tl~~bii'U~~m'jtl~u~'jl'IJm~'1J€l'l-Vl~l'llm'j~

€l~mEJ 'UU'lr1'UUru'lll\J ~

n1~tl 'j~ bii 'U-v1 'jl'll rn 'j'V'ja b~€l'U611:Uru m~-r'U l.J€l'U'VIl.J1 EJ1,x1 tl'lhEJ~1'IJ n 1'j'VI~€l. ~ \J

tl~u~'j 'llm'j1 'Uci'd'U~l'IJm'j~'U (1?11'lml.J)1,x~U'lr1'Uu'Y'll11 'U'VI'lhEJ'll'U~-Vl'jl'llm~~lEJtT'U 1tltl~U~'ll'U

bU'Um -V€ll.J~bb~~mll.J b~'U b~€ltl'j~ n€l'U nl~tl~~ bii'U~~nl'jtl fiU~'jl'llnl~'1J€l'l'VI'.ld EJ'll'U~'U~'ln~\J \J ;.J

'1J€l..:l-Vll'llm'j~lEJtT'U bu'U~tl'j~ bii'U~~m~tl~u~~l'llm~ EJn b1'Umru-Vl'jl'llm'j'V'j~ b~€l'U611:U'Y1~1~-r'U

l.J€l'U'VIlEJ1mtl'li'd EJ~l'llnl~'VI~€ltl~U~'jl'll nl'j1 'U'VI'IhEJ..:Il'U~'Udi'UM..:I'VItl..:l'1J€l..:l'j€l'Unl'jtl~~ bii'U~ ~ nl'j

tl~u~h 'llnl'j 1,x~d'I1,r lci'd'U 'jl'IJnl'j'VI~€l'VI,h EJ..:Il'U~-Vl'jl'll nl'j~tT'U 1tl'li'd EJ~1'll m~'VI~€ltl~U~'jl'll nl'j

ij'VI,rl~ ~~ bii'U~~m'jtl~~~l'llm'j'1J€l'l-Vl'jl'llm~~..:I n~l'd

Page 2: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

- ®-

~ (9)) VI~eJVI~'l1''W~ (9) n'WtJltJ'W (G11V1~U~eJUfll'Hh~biJ'W~ l!J) 1~~U'l~UUru'1fl~'HU'W" v

~'\.h~b 'W~(;lfl1~tJlJUll~l'1ffl1~ 1'WG'il'W~l'1ffl1~b~:Wrieu fl1~ 1eJ'WVI~mj'1u bu'W~tJ~~ biJ'W~(;lfl1~tJlJU~hl'1ffl1~'"'lJeJ'IoUl 1'1ffl1~~,r'W

'lJ

oUeJ g) fl1~tJ~~ biJ'W~(;lfl1~tJlJ,_m~1'1ffl1~1 ~~1 bij'Wfl1~ ~'1d

g),(9) ~eJUfl1~tJ~~biJ'W U(;l~ l!J ~eJum:wu'IutJ~~:IJ1ru

~eJu~ (9) bU'Wfl1~tJ~~biJ'W~(;lfll~tJlJU~~1'1ffl1~~~Vl11'11''W~ (9) ~ml"1:W {i'l

ltJ'W'lJeJ'IU b~mn'W

g),l!J fl1 ~tJ~~ biJ 'W~ (;lfll ~tJ lJu~ ~ 1'1ffl1 ~1 ~tJ ~~ biJWill fl l!J eJ'IAtJ ~~ fl eJU1~ uri~'lJ eJ'I'Il'W~61 ~G'il 'W1"1~ bb'W'W~eJtJ(;l~ ~o bb(;l~'IAI~~ m~:w fl1~tJlJU~~l'1f fl1~VI~m':w ~~f1'W~~61 ~G'il'W

1'Wmru~ bu'Wfl1 ~tJ~~ biJ'W~(;lfl1~tJlJU~~l'1ffl1~'lJeJ'IoUl~l'1ffl1~'IAI(;l b~eJ'W?fl:Wqj

~eJ ~~~ 11'I'V1~(;leJ'ItJnU~~1'1ffl1~ VI~eJ~~~ tJ~ b1 (;l1'Vl~ (;leJ'ItJnU~~l'1ffl1~eJ ~~~Vl11'1~eJU fll~tJ~~ biJ'W

1~tJ ~~ iJ 'W~ (;l61:W~'Vl~'lJ eJ'I'Il 'Wua~'IAI~ ~ fl ~~:w fll~tJ lJU~~l'1f ms 1~ tJ61~ G'il'W'lJeJ'I bb~(;l~ eJ'IAtJ ~~ fl eJU

eJ'IAtJ~~fleJU~ (9) ~(;l61:W~'Vl~'lJeJ'I'Il'W1~tJ~~ biJ'W~lfltJ1:1J1ru~(;l'l1'W rJrum'IAI

~(;l'l1'W 1"111:W~1~b11V1~eJm.:J{?l1:Wb1(;l1~ nlV1'W~ VI~eJI"111:wtJ~~Vl8~ VI~eJI"111:wA:W~1'lJeJ.:Jfl1~1oU'Vl~'lAltJlm,~ltJ(;l~b tJ~{?ll:WbBfl?fl~bb'WuvhtJVI:IJ1tJb(;l'lJ (9)

eJ.:JAtJ~~fleJU~ l!J 'IAI~~m~:Wfl1~tJlJU~~l'1ffll~ 1~tJ~~biJwillfl?fm~f1'W~

{?ll:W~fl :wmul"1:Whl"1 nlV1'W~ 1~ tJeJ~ l.:JUeJ tJ1~~~u fl1~tJ~~ biJ'W tJ~~ biJ'W{?l'WbeJ.:JrleJ'Wbb~l~.:J?f~tJ~(;l fl1~, 'lJ ,

g),g) 15fl1~tJ~~ biJ'W~(;lfl11tJlJ,_m~1'1ffl1~

{?l1:WtJ~~ flll"1V1~ fl bflru <II bb(;l~i5 fll~tJ ~~ biJ 'W~ (;lfl1~tJ lJu~ 11'1f fll ~'lJeJ.:J

oUl11'1ffl ~'IAI(;lb~eJ'W?fl:Wqj'IAI.I"1.~ctct~ (;l.:J1''W~g) 'IAI~I"1~fl1tJ'Wl!Jctct~ oUeJg),g) fl~:W~ l!J ~lbbVlt1'1tJ1~b.f1'Vl

vl'11tJbb ~tJ1~b.f1'Vll'1flfl11 'Vlm~~utJml'W~~~U'Vl~'1Arul~ i5tJ~~biJ'W 1~eJtJ1 'W~(;l~ij"il'lJeJ'Il"1ru~m1:Wfl11" 'I 'I 'U q

U1V111.:J 'WUAI"1(;lVlt11tJ.:Jl'Wbb(;l~~eJ.:JbU'Wi5b~ tJln'W~.:JVlt11tJ.:Jl'W 1~ tJeJ~l.:JUeJtJ 1~~~Ufl11tJ~~ biJ'WtJ~~ biJ'W, "'W bb~l~.:J?f~tJ~(;l fl1~tJ~~ biJ'W~1:wnu~tJ1~ biJ'W

, 'lJ

g),1t :Wl{?l~1'~?f:W11f1'W~ 1~tJ1~biJ'W~.:Jbb~1~~U~ (9) {i'l1~~U~1"11~Vl1'.:J

~1 tJ(;l~ b tJ~ {?l1:WbeJfl?fl~bb'WUVlltJVI:IJ1tJb(;l'lJ g)

g),ct 1'Wbb~ (;l~ ~eJU fll~tJ~~ biJ'W 1~~tJ~~ biJ'W{?ll:WoUeJl!J t11~(;l1"1 ~ bb'W'Wfll~'lJ

tJ~~biJ'W (;lfll1tJlJ,_m~1'1ffl1~:IJ1..ij~fl~:WI"1~bb 'W'W~(;lfl1~tJlJ,_m~l'1ffl1~bU'W ct ~~~U ~eJ

1~~U~b~'W (~O-(9)OO l"1~bb'W'W)

Page 3: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

- Q1 -

1~~1J'VmH (bo-b~.~~ rl~bb'W'W)

1~~1J~eJ.:JU11Jtb.:J (umJfll1 oo rl~bb'W'W),Q1.b f111U1~ biJW:,J61f111UDU~h1'1Jf111~eJ.:Jilrld1lJi~ b:U'Wbb61~ilVl~n~l'W uae 1Vl

llJ u1J1JU 1~ dJw,J61 f111UDU~11'1Jf111~ n1lJ r1d1JfllJ 11rlr11Vl'W~ U1~ neJ1J~h tI bb1J1J?I~Uf111

U1~ blJ C-J61f111UDU~11'1Jf111bb61~ beJn?l11U1~neJ1J 11 tl61~b~tI~!?lllJ beJnarsu 'W1JV11tlVlmtJb61'U cs:Q1.mJ 1Vlil1~1J1Jf111~ ~ bil1JC-J61f111U1~ blJ'Wbb61~Vl~mil'W bb?l~.:JAdllJ~l b1:U'UeJ.:J.:J1'W

0<0

Vl1m'l ~ n11lJ f111UDU~11'1Jn11Vl1eJ?llJ 11f1'W~'UeJ.:J~11J n11U 1~ biJ'W b~eJ 1-il'U1~ neJ1J n11~ :U11ru 1

11'V11'V'ltl1n1'lJrlrl611 'Wb~eJ.:J~l.:J 1 ~lVl11J~1 iu 1u1J1J?I~U n11U1~ blJ'WC-J61f111U DU~11'1Jf111

1Vl~U.:J 1JU ru'1J1bn1J11 bU 'Wbd611eJ~ l.:JU eJtI?leJ.:J1eJ1Jf111U 1~ blJ'W ~d'W~'WQU1J bb1J1J?l1U n11U1~ blJW:,J61'U " ,

Q1.~ bb~61~1eJ1Jf111U1~ blJ'W1Vl~U 1~ blJ'Wbb61~ ~11J f111U 1~ blJ'Wr11Vl'W~oUeJI9ln61.:J'U 'U

~dlJ n'W ~tld n1Jf111lJeJ1JVllJ 1t1.:J1'Wbb61~f111U 1~ blJ'WC-J61f111UDU~11'1J n11 r11Vl'W~Iild~l ~Vl1eJVl~ n~l'WU.:J~

rld llJ~ b1:U'UeJ.:J.:J1'WeJ~1.:JbU'W1UiS'11lJ bb61~rld1mVlm~?llJn1J~ n~ru~.:J1'W ~lVl11J f111r11Vl'W~lild~1~ 1Vl'U

~:u 11ru1 f111~1 tI'VIeJ~Iild~l ~ :U1n1J'W61.:J~1.:JbU'WVl~n r1eJ'W1'Wn1ru~1~eJ1:U 1'i'1bU'Wf1111~Vl1eJ 1~ bVi tI.:J'V'leJm:u b~eJ i5f111r11Vl'W~lild~1~~d tlim~i5Vl~.:JVl1eJVl6l1t115~ bVlm~?llJ u'VI'WVl1eJb~lJ b~lJ

m.~ bb~61~1eJ1Jf111U1~ blJ'W1Vl~U1~blJ'W19l1lJoUeJ]£) U1~ biJ'W~..J6lf111UDU~11'1Jf111

f111U1~ blJ'W19l1lJVl~nbnru'l'l bb61~15f111~1~U1~n11"l11 bb61~19l1lJoUeJl9ln61.:J~1~'Vh11 n1J~11Jn11'U

blJ'Wb~eJn11U11JU~.:J bbm 'U ~\9l.I'W1b~m<ll 1U~~61~lJ{]'VIt'UeJ.:J.:J1'W bb61~'V'l{]~m1lJVl1eJ?lm1f1'W~

1'Wf111U '"~11'1Jf111bb61 ~ b~eJ~'W1eJ1Jf111U1~ blJ'W~U1~ biJ'W~.:Jn~ld n1J ~11J f111U1~ blJ'WAdThlJ n'Wv'h f111'U 'U

1bA11~ <~61~1 b1:U'UeJ.:J.:J1'Wbb61~'V'l{]~m1lJVl1eJ?lm1f1'W~ 1'Wf111UDU~11'1Jf111 b~eJVl1rld1lJ"il1 bu'W1'Wf111

'W11t11Jrlrl61~d tI,m.C9lC9l 1Vl~U1~blJ'W19l1lJoUeJ ]£) ~~~.:J~61n11U1~blJ'WC-J61n11UDU~11'1Jn11

'UeJ.:Jml9l<V .:JA1JUru'1J1iau eJ~eJrl ru~ m1lJ f1111J1Vl11.:J1'W1Jrlrl61 r1eJ'Wtll b?l'WeJ~elr1ru~ m1lJf111n ~'WmeJ.:J C-J61'U" ,

f111U1~ lJ'W~61f111UD~11'1Jf1111~~1JmlJ bb61~~dVlU1~d'W11'1Jf1111~~1JmlJ~eJ 1U

m.C9l]£) 1'Wf111U1~ blJ'WC-J61f111U DU~ 11'1Jf1111 'Wbb~61~rl~.:J 1Vl~U1~ biJ'W1911 lJoUeJ]£)

bb~.:J~61 11U1~ blJ'W1Vl~11Jf111U 1~ blJ'W'VI111JbU'W11 tl1Jrlrl611~ tI~11J f111U1~ biJ'W61.:J611tI~ eJ~eJ11J'VI111JC-J61'U ''U

?l1~qJeJ '1.:JUeJtlVl~.:Jrl'W1'WVltb tI.:J1'W6'l.:J6'l1t1~eJ~eJbU'W'V'ltl1'Wl11~il f111 bb~.:JC-J6'lf111U1~blJ'W\9l.:Jn~ldbb~d~d tI

m.C9lQ1 1Vl~U1~ blJ'W19l1lJoUeJ]£) U1~ f111"l11t1~eJoU111'1Jf111'V'lm1eJ'W?l1~ru~il ~6'lf111'U "'U

UDU~1 'llf111eJ~1'W1~~1J~b~'W bb6'l~~lJ1n 1'W~btJm~tl1Vl'VI111J1~tI~dn'W

oUeJcs: ~6'lf111U1~ blJ'WC-J6'lf111UDU~11'1Jf111'UeJ.:JoU111'1Jf111'V'lm1eJ'W?l1~ qJ1 'WVl'W'JtJ.:J1'W

1Vl~U.:J 1JUqJ'1J1'l111 u1-il'u1~neJ1Jf111bb~.:J~.:J nl'~b~eJ'Wb~'Wb~eJ'W f1111VleJeJn:U1n11'1Jf111 f111~\9l.I'W1bb6'l~

Page 4: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

- G: -

b<WlJ~ tl 'i~~'Vl5.f)1'W m'itlnU~'i1'1ln1'imlJ'VI~ flbnru.n bbc;'l~15n1'j':h~1 f.Jn1'n~\J uae €l1"iJ'I11btlti

tl'i~n€l f11'iI1i'~~'Uh~1'Uf11'iU~'VI1'i'Vl-r'Wf.J1m~flrm t 'Ub~€l'l{?}1'l1b'li'Ums t ~'i1'llm_h~~ltJ 'i1'l1c;'l~'l h

bbc;'l~rh €lUbb'Vl'U{?}1'l1~1f.Jm~

i€l ct 'VI~f)bnru.n.Qt minun1'itl'i~ b:W'Ue.Jc;'lm'itlnU~i'i1'1l f11'i'1l€l'li1'i1'1l fi1'i'Wc;'lb~€l'U

?f1:W'1l 'ilJfl1Uf)lJ hfl

('U1'l?f11<WlJV~';i1b'W 'W~fljIJ~D5)

Un~~f11'i'l1'Uvi'1b tJ'1l1'U1'1lf11'i<Wbl"1~

-rn~l 'i1'1lms f11'iu 'Vl'Ubc;'l'1J1'Uf11'imlJ

,~ a ctl.~. 'ID t.e & ~... '"1'U'Vl

b~f.J'U 1'i1'1lf11'i~lUf).:j1'Ubc;'l'1J1'Ufi1'imlJ,~€lttl'i(;l'Vl'i1U

( 1'l?f11<wuw11b 'W 'W~fljIJ~D5)

un ~f11'i'l1'Uvi'1b tJ'1l1'U1'1lf11'i<Wbl"1~

-r ~1'i1'1lf11'ibb'Vl'Ubc;'l'1J1'Uf11'imlJ,

Page 5: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

สารบัญ

หนา

>>> เอกสารแนบทายหมายเลข 1

รายละเอียดองคประกอบท่ี 1 ผลสัมฤทธิ์ของงาน 1

>>> เอกสารแนบทายหมายเลข 2

รายละเอียดองคประกอบท่ี 2 พฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ 2-3

>>> เอกสารแนบทายหมายเลข 3

มาตรวัดสมรรถนะกรมควบคุมโรค 4-5

>>> เอกสารแนบทายหมายเลข 4

แบบประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการกรมควบคุมโรค 7-13

>>> แบบประเมินสมรรถนะขาราชการกรมควบคมุโรค

สมรรถนะหลัก (Core Competency) 14-19

การยึดม่ันในความถูกตอง (Integrity : I) 14

บริการท่ีดี (Service Mind : S) 15

การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ (Mastery : M / Expertise) 16

การมุงผลสัมฤทธิ ์(Achievement Motivation : A) 17

การมีน้ําใจเปดกวางเปนพ่ีเปนนอง (Relationship : R) 18

การทํางานเปนทีม (Teamwork : T) 19

สมรรถนะท่ีจําเปนตามภารกิจของกรม(Functional Competency) 20-23

หลักระบาดวิทยา (Epidemiology)

- สําหรับสายงานหลัก 20

- สําหรับสายงานสนับสนุน 21

การวิจัยและพัฒนา (Research and Development/R2R) 22

การติดตามและประเมินผล (Monitoring and Evaluation) 23

แบบฟอรมประกอบการประเมินสมรรถนะ 24-29

Page 6: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

เอกสารแนบทายหมายเลข 1 รายละเอียดองคประกอบท่ี 1 ผลสัมฤทธิ์ของงาน

องคประกอบและน้ําหนักคะแนน การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานของขาราชการสํานักงานเลขานุการกรม

กรมควบคุมโรค

องคประกอบ สัดสวน

น้ําหนักคะแนน

รวมน้ําหนักคะแนน

(รอยละ)

1. งานตามยุทธศาสตร (งานท่ีปรากฏในคํารับรอง

การปฏิบัติราชการกรมควบคุมโรค หรือหนวยงาน)

** ใหอยูในดุลยพินิจของ

หนวยงาน หรือ

ผูบังคับบัญชา/ผูประเมิน

100

2.งานตามภารกิจ (งานตามหนาท่ีความรับผิดชอบ

หลักของกรม สํานัก สถาบัน กองหรือหนวยงานท่ี

ข้ึนตรงตออธิบดี หรือตําแหนงงานของผูรับการ

ประเมินตามคําบรรยายลักษณะงาน)

3.งานอ่ืน ๆ ท่ีไดรับมอบหมาย (งานท่ีนอกเหนือจาก

งานตามขอ 1 และ ขอ 2)

ใหอยูในดุลยพินิจของหนวยงานหรือผูบังคับบัญชา หมายถึง ใหหนวยงานหรือผูบังคับบัญชา/ผูประเมิน

รวมกับผูใตบังคับบัญชา/ผูรับการประเมิน ดําเนินการตามแนวทาง ดังนี้

1. การกําหนดตัวช้ีวัด กําหนดตัวชี้วัดจาก 1)งานตามยุทธศาสตร 2)งานตามภารกิจ 3)งานอ่ืนๆท่ีไดรับ

มอบหมาย ซ่ึงแตละคนจะมีความแตกตางตามลักษณะงานท่ีปฏิบัติ โดยอาจมีการกําหนดตัวชี้วัดจากงาน

ครบถวนท้ัง 3 สวน หรือไมก็ได ท้ังนี้ไมควรมีจํานวนตัวชี้วัดมากเกินไป

2. การกําหนดสัดสวนน้ําหนักคะแนน กําหนดสัดสวนน้ําหนักคะแนน ตามความสําคัญของงานนั้น หากมีหลาย

ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดแตละตัวไมควรมีน้ําหนักนอยกวา รอยละ 10

3. การกําหนดกรอบระยะเวลาในการดําเนินการ หน วยงานควรมีการกําหนดกรอบระยะเวลา

ในการมอบหมายงาน การวางแผนการปฏิบัติงาน เพ่ือกําหนดตัวชี้วัดผลงานและคาเปาหมายในการ

ปฏิบัติงาน โดยสามารถศึกษาไดจากคูมือการปฏิบัติงานการบริหารผลการปฏิบัติราชการกรมควบคุมโรค

- 1 -

Page 7: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

เอกสารแนบทายหมายเลข 2 รายละเอียดองคประกอบท่ี 2 พฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ

ตารางแสดง : องคประกอบและน้ําหนักคะแนนในการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะของขาราชการสํานักงานเลขานุการกรม กรมควบคุมโรค

สมรรถนะ คะแนน

สมรรถนะหลัก (core competency) 60

1 การยึดม่ันในความถูกตอง (Integrity : I) 10

2. บริการท่ีด ี(Service Mind : S) 10

3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญ (Mastery : M) 10

4. การมุงผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation : A) 10

5. การมีน้ําใจเปดกวางเปนพ่ีเปนนอง(Relationship : R) 10

6. การทํางานเปนทีม (Teamwork : T) 10

สมรรถนะท่ีจําเปนตามภารกิจของกรมควบคุมโรค (functional competency)

40

1. หลักระบาดวิทยา (Epidemiology)

- สําหรับสายงานหลัก

- สําหรับสายงานสนับสนุน

** ใหผูบังคับบัญชา และ

ผูปฏิบัติงาน ตกลงเลือกประเมิน

สมรรถนะ 2 ตัว จาก 3 ตวั โดย

- ตัวท่ี 1 เทากับ 20

- ตัวท่ี 2 เทากับ 20

2. การวิจัยและพัฒนา (Research and Development/R2R)

3. การติดตามและประเมินผล (Monitoring and Evaluation)

รวม 100

- 2 -

Page 8: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

ตารางแสดง : สมรรถนะระดับท่ีคาดหวัง (Level) ของแตละประเภทตําแหนง และระดับตําแหนงในการประเมินสมรรถนะของขาราชการกรมสํานักงานเลขานุการกรม ควบคุมโรค

ตําแหนง ระดับท่ีคาดหวัง

(Core Competency / Functional Competency)

ตําแหนงประเภทอํานวยการ

- ระดับตน L3

ตําแหนงประเภทวิชาการ

- ระดับปฏิบัติการ

- ระดับชํานาญการ

- ระดับชํานาญการพิเศษ

L1

L2

L3

ตําแหนงประเภทท่ัวไป

- ระดับปฏิบัติงาน

- ระดับชํานาญงาน

L1

L1

ตารางแสดง : สายงานของบุคลากรกรมควบคุมโรค เพ่ือใชประกอบการประเมินสมรรถนะ “หลักระบาด

วิทยา (Epidemiology)”

สายงานหลัก สายงานสนับสนุน

1. ผูอํานวยการ 1. นักจัดการงานท่ัวไป

2. นักประชาสัมพันธ

3. นักวิเคราะหนโยบายและแผน

4. บรรณารักษ

5. เจาพนักงานธุรการ

6. เจาพนักงานหองสมุด

- 3 -

Page 9: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

เอกสารแนบทายหมายเลข 3 มาตรวัดสมรรถนะกรมควบคุมโรค

มาตรวัดสมรรถนะกรมควบคุมโรค เปนมาตรวัดท่ีใชประเมินวาผูรับการประเมินไดแสดงพฤติกรรม

หรือสมรรถนะตามเกณฑการประเมินท่ีกรมควบคุมโรคกําหนดมากนอยเพียงใด ถาผูรับการประเมินแสดงพฤติกรรม

หรือสมรรถนะไดมากก็จะไดคะแนนประเมินสูง โดยในการประเมินสมรรถนะแตละตัวตามมาตรวัดสมรรถนะ

กรมควบคุมโรคใหดําเนินการ ดังนี้

ตัวอยาง : การประเมินสมรรถนะการยึดม่ันในความถูกตองชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) ของผูถูกประเมิน

ระดับชํานาญการ ซ่ึงมีระดับท่ีคาดหวังอยูในระดับท่ี 2

ข้ันตอนท่ี 1 ประเมินสมรรถนะตามเกณฑการประเมินท่ีกรมควบคุมโรคกําหนดตั้งแตระดับท่ี 1 จนถึงระดับท่ีคาดหวัง

โดยใหคะแนน 1-5 ในแตละระดับ ตามพฤติกรรมหรือสมรรถนะท่ีแสดงออกจริงของผูรับการประเมิน แลวรวมคะแนน

ท่ีไดตั้งแตระดับท่ี 1 จนถึงระดับท่ีคาดหวังในชอง “คะแนนรวม”

ข้ันตอนท่ี 2 คิดคะแนน “ผลการประเมินสมรรถนะ” เพ่ือนําไปบันทึกในระบบบริหารผลการปฏิบัติราชการผานระบบออนไลน (PMS Online) ดังนี้ ผลการประเมินสมรรถนะ = คะแนนรวม ÷ ระดับท่ีคาดหวัง

= 8 ÷ 2

= 4

4

Page 10: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

ข้ันตอนท่ี 3 นําคะแนน “ผลการประเมินสมรรถนะ” ไปบันทึกในระบบบริหารผลการปฏบิัติราชการผานระบบ

ออนไลน (PMS Online) ดังนี้

กรณีท่ี 1 ผูรับการประเมิน ประเมินตนเองเบ้ืองตน นําผลการประเมินสมรรถนะ ไปบันทึกในในระบบบริหารผล การปฏิบัติราชการผานระบบออนไลน (PMS Online) ในชอง “ผลการประเมินตนเอง”

กรณีท่ี 2 ผูบังคับบัญชา/ผูประเมินหรือผูใหขอมูล(ถามี) ประเมินผูรับการประเมิน นําผลการประเมินสมรรถนะ ไปบันทึกในในระบบบริหารผลการปฏิบัติราชการผานระบบออนไลน (PMS Online) ในชอง “ผลการประเมินสมรรถนะ” พรอมระบุพฤติกรรมท่ีไมผานการประเมิน (ถามี) ในชอง “เหตุการณ/พฤติกรรม”

5

Page 11: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

6

Page 12: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

กรมควบคุมโรค

แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการ

ส่วนที่ ๑: ข้อมูลของผู้รับการประเมิน

รอบการประเมิน รอบที่ ๑ ๑ ตุลาคม ถึง ๓๑ มีนาคม

รอบที่ ๒ ๑ เมษายน ถึง ๓๐ กันยายน

ชื่อผู้รับการประเมิน

ตำแหน่ง

ประเภทตําแหน่ง ระดับตำแหน่ง

สังกัด

เงินเดือน

ชื่อผู้ประเมิน

ตำแหน่ง

คำชี้แจง

แบบสรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการนี้ มีด้วยกัน ๓ หน้า ประกอบด้วย

ส่วนที่ ๑: ข้อมูลของผู้รับการประเมิน เพื่อระบุรายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับตัวผู้รับการประเมิน

ส่วนที่ ๒: สรุปผลการประเมิน ใช้เพื่อกรอกค่าคะแนนการประเมินในองค์ประกอบด้านผลสัมฤทธิ์ของงาน องค์ประกอบ

ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ และน้ำหนักของทั้งสององค์ประกอบ ในแบบส่วนสรุปส่วนที่ ๒ นี้

ยังใช้สำหรับคำนวณคะแนนผลการปฏิบัติราชการรวมด้วย

- สำหรับคะแนนองค์ประกอบด้านผลสัมฤทธิ์ของงาน ให้นำมาจากแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน โดยให้แนบท้ายแบบสรุปฉบับนี้

- สำหรับคะแนนองค์ประกอบด้านพฤติกรรมการปฏิบัติราชการ ให้นำมาจากแบบประเมินสมรรถนะ โดยให้แนบท้ายแบบสรุปฉบับนี้

ส่วนที่ ๓: แผนพัฒนาการปฏิบัติราชการรายบุคคล ผู้ประเมิน และผู้รับการประเมินร่วมกันจัดทำแผนพัฒนาผลการปฏิบัติราชการ

ส่วนที่ ๔: การรับทราบผลการประเมิน ผู้รับการประเมินลงนามรับทราบผลการประเมิน

ส่วนที่ ๕: ความเห็นของผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปกลั่นกรองผลการประเมิน แผนพัฒนาผลการปฏิบัติ

ราชการและให้ความเห็น

คำว่า 'ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป' สำหรับผู้ประเมินตามข้อ ๒ (๙) หมายถึงหัวหน้าส่วนราชการประจำจังหวัดผู้บังคับบัญชาของผู้รับการประเมิน

Page 13: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

ส่วนที่ ๒: การสรุปผลการประเมิน

องค์ประกอบการประเมิน คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (ก)x(ข)

องค์ประกอบที่ ๑: ผลสัมฤทธิ์ของงาน ๐.๐๐ ๘๐% ๐.๐๐

องค์ประกอบที่ ๒: พฤติกรรมการปฏิบัติราชการ (สมรรถนะ) ๐.๐๐ ๒๐% ๐.๐๐

องค์ประกอบอื่นๆ (ถ้ามี) ๐.๐๐ ๐.๐๐

รวม ๑๐๐% ๐.๐๐

ระดับผลการประเมิน

ส่วนที่ ๓: แผนพัฒนาการปฏิบัติราชการรายบุคคล

ความรู้/ ทักษะ/ สมรรถนะ

ที่ต้องได้รับการพัฒนา วิธีการพัฒนา ช่วงเวลาที่ต้องการการพัฒนา

Page 14: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

ส่วนที่ ๔: การรับทราบผลการประเมิน

ผู้รับการประเมิน:

ได้รับทราบผลการประเมินและแผนพัฒนาผลการปฏิบัติราชการรายบุคคลแล้ว

ลงชื่อ ....................................................................................................

( )

ตําแหน่ง............................................................วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ. ....................

ผู้ให้ข้อมูล:

ได้แจ้งผลการให้ข้อมูล เมื่อวันที่ ..................................................

ลงชื่อ ....................................................................................................

( )

ตำแหน่ง

วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ. ....................

ผู้ประเมิน:

ได้แจ้งผลการประเมินและผู้รับการประเมินได้ลงนามรับทราบ

ได้แจ้งผลการประเมิน เมื่อวันที่ ..................................................

แต่ผู้รับการประเมินไม่ลงนามรับทราบ

โดยมี ...........................................................................เป็นพยาน

ลงชื่อ ................................................................................พยาน

ตำแหน่ง.............................................................................

วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ. ....................

ลงชื่อ ....................................................................................................

( )

ตำแหน่ง

วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ. ....................

Page 15: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

ส่วนที่ ๕: ความเห็นของผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป

ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไป:

เห็นด้วยกับผลการประเมิน

มีความเห็นแตกต่าง ดังนี้

ลงชื่อ ....................................................................................................

( )

ตำแหน่ง

วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ. ....................

ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง (ถ้ามี):

เห็นด้วยกับผลการประเมิน

มีความเห็นแตกต่าง ดังนี้

ลงชื่อ ....................................................................................................

( )

ตำแหน่ง

วันที่ ............. เดือน .............................. พ.ศ. ....................

Page 16: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

รอบการประเมิน รอบที่ ๑ รอบที่ ๒

ลงนาม ....................................................................................................

แบบสรุปการประเมินสมรรถนะ

ชื่อผู้รับการประเมิน:

ชื่อผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน: ลงนาม ....................................................................................................

สมรรถนะ ระดับที่ ผลการประเมิน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน บันทึกโดยผู้ประเมิน (ถ้ามี)

การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม ๑ ๐.๐๐

การบริการที่ดี ๑ ๐.๐๐

การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ ๑ ๐.๐๐

การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ๑ ๐.๐๐

การมีน้ำใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี่เป็นน้อง ๑ ๐.๐๐

การทำงานเป็นทีม ๑ ๐.๐๐

หลักระบาดวิทยา (สำหรับสายงานหลัก) ๑ ๐.๐๐

หลักระบาดวิทยาประยุกต์สำหรับงานเชิงบริหารจัดการ

(สำหรับสายสนับสนุน)

๑ ๐.๐๐

การวิจัยและพัฒนา ๑ ๐.๐๐

การติดตามและประเมินผล ๑ ๐.๐๐

คะแนนรวม ๐ ๐.๐๐

คะแนนประเมิน ๐.๐๐

Page 17: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

รอบการประเมิน รอบที่ ๑ รอบที่ ๒

ลงนาม ....................................................................................................

แบบสรุปการประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน

ชื่อผู้รับการประเมิน:

ชื่อผู้บังคับบัญชา/ผู้ประเมิน: ลงนาม ....................................................................................................

ตัวชี้วัดผลงานคะแนนตามระดับค่าเป้าหมาย

คะแนน (ก) น้ำหนัก (ข) รวมคะแนน (กxข)๑ ๒ ๓ ๔ ๕

คะแนนรวม

คะแนนประเมิน ๐.๐๐

Page 18: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

ผลสำเร็จของงานจริง

ผลงานจริง น้ำหนักผลการประเมิน

๑ ๒ ๓ ๔ ๕

คะแนนรวม

คะแนนประเมิน ๐.๐๐

ผลรวมของคะแนนประเมินของผลสำเร็จของงาน

ผลรวมของคะแนนประเมินผลสำเร็จของงานทั้งหมด ๐.๐๐

Page 19: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

สมรรถนะหลัก (Core Competency)

สมรรถนะท่ีจําเปนตามภารกิจของกรม(Functional Competency)

แบบฟอรมประกอบการประเมินสมรรถนะ

คํานิยาม

Page 20: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

1 คะแนน 2 คะแนน

3 คะแนน 4 คะแนน

5 คะแนน

สามารถอธิบายประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนและจรรยาข้าราชการกรมควบคุมโรคได้

ระดับความสําเร็จของการแสดงความรู้ ความเข้าใจในประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือนและจรรยาข้าราชการกรมควบคุมโรค

ขั�นตอน มีการอธิบายองค์ประกอบของประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน คือ 1)บททั�วไป 2)จริยธรรมข้าราชการพลเรือน 3)กลไกและระบบการบังคับใช้ประมวลจริยธรรม ได้บางส่วน

- แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน ได้ครบถ้วน

- แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และอธิบายจรรยาข้าราชการกรมควบคุมโรค พ.ศ.2553

สามารถแสดงให้เห็นถึงความมีจิตสํานึกในความเป็นข้าราชการ มีสัจจะ และเชื�อถือได้

ร้อยละของการเข้าร่วมประชุม และ/หรือกิจกรรม ที�สําคัญสําคัญตามที�หน่วยงานกําหนดตรงเวลา และ/หรือการปฏิบัติงานตรงเวลาที�ราชการกําหนด

ร้อยละ 80 85 90 95 100

สามารถยึดมั�นในหลักการ จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ และจรรยาบรรณข้าราชการ เพื�อให้เกิดประโยชน์แก่ทางราชการ

ร้อยละของการปฏิบัติงานถูกต้องตามกฎระเบียบ

ร้อยละ 80 85 90 95 100

สามารถยึดมั�นเพื�อความถูกต้อง กล้าตัดสินใจปฏิบัติหน้าที�ราชการด้วยความถูกต้อง เป็นธรรม โดยมุ่งพิทักษ์ผลประโยชน์ของทางราชการ แม้ตกอยู่ในสถานการณ์ที�อาจยากลําบาก

ร้อยละของการนําข้อเสนอแนะที�ตนเอง และ/หรือผู้บังคับบัญชาเสนอไว้ไปปรับปรุงการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ�น

ร้อยละ 80 85 90 95 100

สามารถอุทิศตน ยึดมั�นพิทักษ์ผลประโยชน์และชื�อเสียงของส่วนราชการและประเทศชาติ

ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที�ดีในการพิทักษ์ผลประโยชน์และชื�อเสียงของส่วนราชการและประเทศชาติ

ระดับ ไม่มี - - - มี

คะแนนรวม (ผลรวมของคะแนนที่ไดตั้งแตระดับที่ 1 จนถึงระดับที่คาดหวัง

ผลการประเมินสมรรถนะ ที่จะนําไปบันทึกในระบบ PMS Online (คะแนนรวม ÷ ระดับที่คาดหวัง )

แสดงสมรรถนะระดับที� 1 และมีสัจจะเชื�อถือได้

ระดับที� 3

แสดงสมรรถนะระดับที� 2 และยึดมั�นในหลักการ

C1 การยึดมั�นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity)คําจํากัดความ : การดํารงตนและประพฤติปฏิบัติอย่างถูกต้องเหมาะสมทั�งตามกฎหมาย คุณธรรม จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ และจรรยาข้าราชการเพื�อรักษาศักดิ�ศรีแห่งความเป็นข้าราชการ

ระดับ พฤติกรรมบ่งชี� ตัวชี�วัดหน่วย

นับ

เกณฑ์การประเมิน

ระดับที� 4

แสดงสมรรถนะระดับที� 3 และยืนหยัดเพื�อความถูกต้อง

ระดับที� 5

แสดงสมรรถนะระดับที� 4 และอุทิศตนเพื�อความยุติธรรม

คะแนนที�ได้

ระดับที� 1

มีความสุจริต

ระดับที� 2

Page 21: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน

สามารถให้บริการที�เป็นมิตร ยิ�มแย้มแจ่มใส พูดจาสุภาพ โดยให้บริการอย่างต่อเนื�องและรวดเร็ว

ระดับความพึงพอใจในพฤติกรรมการให้บริการที�เป็นมิตร ยิ�มแย้มแจ่มใส พูดจาสุภาพ โดยให้บริการอย่างต่อเนื�องและรวดเร็ว

ระดับ พึงพอใจน้อยมาก

(ค่าคะแนนเฉลี�ย1-1.50 )

พึงพอใจน้อย(ค่าคะแนน

เฉลี�ย1.51-2.50)

พึงพอใจ(ค่าคะแนน

เฉลี�ย2.51-3.50)

พึงพอใจมาก(ค่าคะแนน

เฉลี�ย3.51-4.50)

พึงพอใจมากที�สุด

(ค่าคะแนนเฉลี�ย4.51-5)

สามารถดูแล รับเป็นธุระ ช่วยแก้ปัญหาให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจ

ระดับความพึงพอใจในพฤติกรรมการดูแล รับเป็นธุระ ช่วยแก้ปัญหาให้ผู้รับบริการได้รับความพึงพอใจ

ระดับ พึงพอใจน้อยมาก

(ค่าคะแนนเฉลี�ย1-1.50 )

พึงพอใจน้อย(ค่าคะแนน

เฉลี�ย1.51-2.50)

พึงพอใจ(ค่าคะแนน

เฉลี�ย2.51-3.50)

พึงพอใจมาก(ค่าคะแนน

เฉลี�ย3.51-4.50)

พึงพอใจมากที�สุด

(ค่าคะแนนเฉลี�ย4.51-5)

สามารถรับเป็นธุระประสานงาน และ/หรือแก้ไขปัญหาภายในหน่วยงานและหน่วยงานอื�นที�เกี�ยวข้องได้

ระดับความพึงพอใจในพฤติกรรมการรับเป็นธุระประสานงาน และ/หรือแก้ไขปัญหาภายในหน่วยงานและหน่วยงานอื�นที�เกี�ยวข้อง

ระดับ พึงพอใจน้อยมาก

(ค่าคะแนนเฉลี�ย1-1.50 )

พึงพอใจน้อย(ค่าคะแนน

เฉลี�ย1.51-2.50)

พึงพอใจ(ค่าคะแนน

เฉลี�ย2.51-3.50)

พึงพอใจมาก(ค่าคะแนน

เฉลี�ย3.51-4.50)

พึงพอใจมากที�สุด

(ค่าคะแนนเฉลี�ย4.51-5)

สามารถเข้าใจ ให้คําแนะนําที�เป็นประโยชน์แก่ผู้รับบริการ เพื�อตอบสนองความจําเป็นหรือความต้องการที�แท้จริงของผ้รับบริการได้

ระดับความพึงพอใจในพฤติกรรมการเข้าใจ ให้คําแนะนําที�เป็นประโยชน์แก่ผู้รับบริการ เพื�อตอบสนองความจําเป็นหรือความต้องการที�แท้จริงของผ้รับบริการ

ระดับ พึงพอใจน้อยมาก

(ค่าคะแนนเฉลี�ย1-1.50 )

พึงพอใจน้อย(ค่าคะแนน

เฉลี�ย1.51-2.50)

พึงพอใจ(ค่าคะแนน

เฉลี�ย2.51-3.50)

พึงพอใจมาก(ค่าคะแนน

เฉลี�ย3.51-4.50)

พึงพอใจมากที�สุด

(ค่าคะแนนเฉลี�ย4.51-5)

สามารถเป็นที�ปรึกษา และ/หรือสามารถให้ความเห็นที�แตกต่างจากวิธีการ หรือขั�นตอนที�ผู้รับบริการต้องการให้สอดคล้องกับความจําเป็น ปัญหา โอกาส เพื�อเป็นประโยชน์อย่างแท้จริงของผู้รับบริการได้

ระดับความพึงพอใจในพฤติกรรมการเป็นที�ปรึกษา และ/หรือสามารถให้ความเห็นที�แตกต่างจากวิธีการ หรือขั�นตอนที�ผู้รับบริการต้องการให้สอดคล้องกับความจําเป็น ปัญหา โอกาส เพื�อเป็นประโยชน์อย่างแท้จริงของผ้รับบริการ

ระดับ พึงพอใจน้อยมาก

(ค่าคะแนนเฉลี�ย1-1.50 )

พึงพอใจน้อย(ค่าคะแนน

เฉลี�ย1.51-2.50)

พึงพอใจ(ค่าคะแนน

เฉลี�ย2.51-3.50)

พึงพอใจมาก(ค่าคะแนน

เฉลี�ย3.51-4.50)

พึงพอใจมากที�สุด

(ค่าคะแนนเฉลี�ย4.51-5)

แสดงสมรรถนะระดับที� 3 และเข้าใจและให้บริการที�ตรงตามความต้องการที�แท้จริงของผู้รับบริการได้

เกณฑ์การประเมิน

คะแนนรวม (ผลรวมของคะแนนที่ไดตั้งแตระดับที่ 1 จนถึงระดับที่คาดหวัง

ผลการประเมินสมรรถนะ ที่จะนําไปบันทึกในระบบ PMS Online (คะแนนรวม ÷ ระดับที่คาดหวัง )

คะแนนที�ได้

ระดับที� 5

ระดับที� 2

ระดับที� 3

ระดับที� 4

แสดงสมรรถนะระดับที� 4 และให้บริการที�เป็นประโยชน์อย่างแท้จริงให้แก่ผู้รับบริการ

ระดับที� 1

สามารถให้บริการที�ผู้รับบริการต้องการได้ด้วยความเต็มใจ

แสดงสมรรถนะระดับที� 2 และให้บริการที�เกินความคาดหวัง แม้ต้องใช้เวลาหรือความพยายามอย่างมาก

แสดงสมรรถนะระดับที� 1 และช่วยแก้ปัญหาให้แก่ผู้รับบริการ

C2 บริการที�ดี (Service Mind)คําจํากัดความ : ความตั�งใจและความพยายามของบุคลากรทุกระดับในส่วนราชการที�จะให้บริการในหลายรูปแบบแก่ผู้ขอรับบริการจากงานในหน้าที�ราชการของตน หรืองานอื�นๆ ที�เกี�ยวข้อง โดยไม่เลือกกลุ่มเป้าหมายซึ�งเกิดจากจิตสํานึกของความเป็นข้าราชการที�ดี

ระดับ พฤติกรรมบ่งชี� ตัวชี�วัดหน่วย

นับ

Page 22: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

แนวทางการประเมิน กรณีมีผู้ร่วมประเมินมากกว่า 1 คน โดยดําเนินการ ดังนี� 1. ให้ผู้ร่วมประเมินแต่ละคนประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมการให้บริการของผู้ถูกประเมินแล้วให้คะแนนตามเกณฑ์การประเมิน 2. นําคะแนนที�ได้จากการประเมินมารวม แล้วหาค่าเฉลี�ย (Mean) ดังนี� ค่าคะแนนเฉลี�ยระดับความพึงพอใจ = (ผลรวมของคะแนนการประเมินทั�งหมด ÷ จํานวนผู้ประเมิน) 3. เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี�ยระดับความพึงพอใจ ตามเกณฑ์การประเมินที�กรมควบคุมโรคกําหนด 4. ผู้ประเมินหลัก (ผู้บังคับบัญชา) นําผลที�ได้จากการร่วมประเมินมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา แล้วระบุคะแนนที�ได้ลงในแบบฟอร์ม ตัวอย่างการประเมิน : นาย ก เป็นข้าราชการระดับปฏิบัติการ ถูกประเมินสมรรถนะการบริการที�ดี (Service Mind) โดยผู้ประเมิน ดังนี� 1) ผู้รับบริการ = พึงพอใจมากที�สุด (4 คะแนน) 2) หัวหน้างาน = พึงพอใจมาก (5 คะแนน) 3) เพื�อนร่วมงาน = พึงพอใจมาก (4 คะแนน) ดังนั�น ค่าเฉลี�ยระดับความพึงพอใจของนาย ก เท่ากับ 4.3 เมื�อเปรียบเทียบกับเกณฑ์การประเมิน แสดงว่านาย ก มีผลการประเมินสมรรถนะบริการที�ดี (Service Mind) อยู่ที�ระดับ 4 คะแนน ผู้รับการประเมินสามารถประเมินตนเองเพื�อประกอบการพิจารณาของผู้ประเมินหลัก จากนั�นผู้ประเมินหลัก (ผู้บังคับบัญชา) นําผลที�ได้จากการร่วมประเมินมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา แล้วระบุคะแนนที�ได้ลงในแบบฟอร์ม

Page 23: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

4 คะแนน

5 คะแนน

สามารถศึกษาหาความรู้ สนใจ สืบค้นข้อมูลจากแหล่งต่างๆ พัฒนาความรู้ เทคโนโลยี และติดตามความรู้ใหม่ๆ ในสาขาอาชีพของตนอยู่เสมอ

จํานวนความรู้ และ/หรือเทคโนโลยีใหม่ๆที�ได้จากการศึกษา และ/หรือสืบค้นจากแหล่งต่างๆนําเสนอผู้บังคับบัญชา

จํานวน ไม่มี - - - มี

สามารถรับรู้ถึงแนวโน้มวิทยาการที�ทันสมัย และรอบรู้ในเทคโนโลยีหรือองค์ความรู้ใหม่ๆ ที�อาจมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานของตน หรือที�เกี�ยวข้องกับงานของตนอย่างต่อเนื�อง

จํานวนองค์ความรู้ใหม่ๆ ที�อาจมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานในสาขาอาชีพของตน และ/หรือวิธีปฏิบัติงานและวิธีการทํางาน (Work Instruction)

จํานวน ไม่มี - - - มี

สามารถเสนอแนวคิดหรือนําความรู้ วิทยาการ หรือเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาปรับใช้กับการปฏิบัติหน้าที�ราชการได้

จํานวนระเบียบปฏิบัติงาน (Procedure Manual) และ/หรือคู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)

จํานวน ไม่มี - - - มี

สามารถใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยีใหม่ๆ ความเชี�ยวชาญที�เป็นสหวิทยาการมาปรับใช้ได้อย่างกว้างขวางเชิงบูรณาการในการสร้างวิสัยทัศน์ เพื�อการปฏิบัติงานในอนาคต

จํานวนคู่มือคุณภาพ (Quality Manual) จํานวน ไม่มี - - - มี

สามารถสนับสนุน บริหารจัดการให้ส่วนราชการนําเทคโนโลยี ความรู้ หรือวิทยาการใหม่ๆ มาใช้ในการปฏิบัติหน้าที�ราชการให้เกิดบรรยากาศแห่งการพัฒนาความเชี�ยวชาญในงานอย่างต่อเนื�อง

จํานวนข้อเสนอเชิงนโยบายที�สนับสนุน และบริหารจัดการส่วนราชการที�รับผิดชอบ

จํานวน ไม่มี - - - มี

คะแนนรวม (ผลรวมของคะแนนที่ไดตั้งแตระดับที่ 1 จนถึงระดับที่คาดหวัง

ผลการประเมินสมรรถนะ ที่จะนําไปบันทึกในระบบ PMS Online (คะแนนรวม ÷ ระดับที่คาดหวัง )

C3 การสั�งสมความเชี�ยวชาญในงานอาชีพ (M : Mastery / Expertise)คําจํากัดความ : ความสนใจใฝ่รู้ สั�งสมความรู้ความสามารถของตนในการปฏิบัติหน้าที�ราชการ ด้วยการศึกษา ค้นคว้า และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื�อง จนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เชิงวิชาการและเทคโนโลยีต่างๆ เข้ากับการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ�

ระดับที� 3

แสดงสมรรถนะระดับที� 2 และสามารถนําความรู้ วิทยาการ หรือเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาปรับใช้กับการปฏิบัติหน้าที�ราชการ

ระดับ พฤติกรรมบ่งชี� ตัวชี�วัด หน่วยนับเกณฑ์การประเมิน

ระดับที� 4

แสดงสมรรถนะระดับที� 3 และศึกษา พัฒนาตนเองให้มีความรู้ และความเชี�ยวชาญในงานมากขึ�น ทั�งในเชิงลึก และเชิงกว้าง

ระดับที� 5

แสดงสมรรถนะระดับที� 4 และสนับสนุนการทํางานของคนในส่วนราชการที�เน้นความเชี�ยวชาญในวิทยาการด้านต่าง ๆ

คะแนนที�ได้

ระดับที� 1

แสดงความสนใจและติดตามความรู้ใหม่ ๆ ในสาขาอาชีพของตน

ระดับที� 2

แสดงสมรรถนะระดับที� 1 และมีความรู้ในวิชาการ และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ในสาขาอาชีพของตน

Page 24: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน

สามารถแสดงออกถึงความพยายามทํางานในหน้าที�ด้วยความมานะ อดทน ขยันหมั�นเพียร ให้ถูกต้อง แล้วเสร็จตามกําหนดเวลาที�หน่วยงาน และ/หรือผู้บังคับบัญชากําหนด และสามารถแสดงความเห็นในเชิงปรับปรงพัฒนางานได้

ระดับความสําเร็จของความพยายามในการปฏิบัติหน้าที�ราชการให้ดี

ขั�นตอน งานที�ได้รับมอบหมายเสร็จไม่ทันเวลาที�หน่วยงานกําหนด แต่ไม่เกิน 5 วันทําการ

งานที�ได้รับมอบหมายเสร็จทันเวลาแต่ผู้บังคับบัญชาต้องกํากับดูแลและต้องใช้ความพยามยามมากในการปรับแก้ไข

งานที�ได้รับมอบหมายเสร็จทันเวลาโดยผู้บังคับบัญชาทําการปรับแก้ไขในระดับหนึ�ง

งานที�ได้รับมอบหมายเสร็จทันเวลาหรือ เร็วกว่าโดยมีการปรับแก้ไขเพียงเล็กน้อยแต่ไม่ได้ปรับแก้ไขในสาระสําคัญ

งานที�ได้รับมอบหมายเสร็จทันเวลาหรือ เร็วกว่าเนื�อหาสามารถใช้งานได้ทันที โดยไม่ต้องมีการปรับแก้ไขใดๆ

สามารถกําหนดเป้าหมายในการทํางานเพื�อให้ได้ผลงานที�ดี รอบคอบ เอาใจใส่ ตรวจสอบความถูกต้อง ติดตามและประเมินผลงานของตนเทียบเคียงกับเกณฑ์มาตรฐานได้ตามเป้าหมายที�ผู้บังคับบัญชา และ/หรือหน่วยงานกําหนด

ระดับความสําเร็จของความสามารถทํางานได้ผลงานตามเป้าหมายที�วางไว้

ขั�นตอน มีรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนที�ได้รับมอบหมาย ตามแบบติดตามผลการปฏิบัติงาน และ/หรือรายงานผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของกรมควบคุมโรคตามแบบรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ถูกต้อง ครบถ้วน ไม่ทันเวลาที�หน่วยงานกําหนด แต่ไม่เกิน 5 วันทําการ

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน แต่ไม่เกิน 3 วันทําการ

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 2 คะแนน และทันเวลาที�หน่วยงานกําหนด

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และเร็วกว่าเวลาที�หน่วยงานกําหนด 3 วันทําการ

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 4 คะแนน และเร็วกว่าเวลาที�หน่วยงานกําหนด 5 วันทําการ

สามารถปรับปรุงวิธีการที�ทํางาน และ/หรือเสนอ และ/หรือทดลองวิธีการทํางานแบบใหม่ที�คาดว่าจะทําให้งานดีขึ�น เร็วขึ�นและมีประสิทธิภาพมากยิ�งขึ�น

ระดับความสําเร็จของผลการปรับปรุงวิธีการทํางานที�มีประสิทธิภาพ

ขั�นตอน มีแผน และ/หรือแนวทางการปรับปรุงวิธีการทํางาน และเสนอผู้บังคับบัญชา

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีผังแสดงขั�นตอนและระยะเวลาการทํางานเดิม และเสนอผู้บังคับบัญชา

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 2 คะแนน และมีผลการดําเนินงานตามแผน และ/หรือแนวทาง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และมีรายงานความก้าวหน้าและ/หรือรายงานผลเสนอผู้บังคับบัญชา

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีผลการดําเนินดําเนินงานตามแผน และ/หรือแนวทาง ได้ร้อยละ 100 และมีรายงานความก้าวหน้าและ/หรือรายงานผล พร้อมข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพัฒนาฯ วิธีการทํางาน เสนอผ้บังคับบัญชา

แสดงสมรรถนะ ตามที�ระบุในช่อง 4 คะแนน และมีผังแสดงขั�นตอนและระยะเวลาเปรียบเทียบการปรับปรุงวิธีการทํางานเดิมและใหม่ และเสนอผู้บังคับบัญชา

สามารถกําหนดเป้าหมายที�ท้าทาย พัฒนาระบบ ขั�นตอน วิธีการทํางานเพื�อให้ได้ผลงานที�เด่น และ/หรือเป็นผลงานใหม่ในหน่วยงานได้

ระดับความสําเร็จของผลการพัฒนางานที�โดดเด่น และ/หรือเป็นผลงานใหม่ในหน่วยงาน

ขั�นตอน มีรายงานผลการศึกษาการทํางาน (Work Study) และมีรายงานผลการวิเคราะห์กระบวนงาน (Process Analysis) เสนอผู้บริหาร

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และนําเสนอผลการออกแบบพัฒนาระบบงาน เสนอผู้บริหาร

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 2 คะแนน และมีผลการดําเนินงานตามแผนที�ออกแบบพัฒนาระบบงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และมีรายงานความก้าวหน้า และ/หรือมีรายงานผลเสนอผู้บริหาร

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีผลการ ดําเนินงานตามแผนที�ออกแบบพัฒนาระบบงาน ได้ร้อยละ 100 และมีรายงานความก้าวหน้า และ/หรือรายงานผลพร้อมข้อเสนอแนะในการพัฒนางานเสนอผ้บริหาร

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 4 คะแนน และนําเสนอรายงานความก้าวหน้า และ/หรือผลในที�ประชุมของหน่วยงาน

สามารถตัดสินใจ บริหารจัดการทรัพยากร และคํานวณผลได้ผลเสียอย่างชัดเจน เพื�อดําเนินการตามภารกิจของส่วนราชการให้บรรลุเป้าหมายและเกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน

ระดับความสําเร็จของตัดสินใจเพื�อบรรลุเป้าหมายของส่วนราชการและเกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน

ขั�นตอน มีการแสดง และ/หรือนําเสนอ และ/หรือมีรายงานผลการให้คําปรึกษาการออกแบบพัฒนาระบบงานการป้องกันควบคุมโรค/ภัยสุขภาพ และ/หรือด้านสาธารณสุข

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีการกําหนดมาตรการ และ/หรือวิธีการในการจัดการผลกระทบทางลบที�เกิดจากการป้องกันควบคุมโรค/ภัยสุขภาพ และ/หรือด้านสาธารณสุข

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 2 คะแนน และมีการบริหารจัดการทรัพยากร กํากับ ติดตามมาตรการ และ/หรือวิธีการในการจัดการผลกระทบทางลบที�เกิดจากการป้องกันควบคุมโรค/ภัยสุขภาพ และ/หรือด้านสาธารณสุข

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และจัดทําบทสรุปรายงานความก้าวหน้า และ/หรือผลการจัดการผลกระทบทางลบที�เกิดจากการป้องกันควบคุมโรค/ภัยสุขภาพ และ/หรือด้านสาธารณสุข สําหรับผู้บริหาร และให้ข้อเสนอทางเลือกเชิงนโยบาย

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 4 คะแนน และมีการนําเสนอ และ/หรือมีเอกสารเผยแพร่ในที�ประชุมเพื�อผลักดันเป็นนโยบาย

คะแนนรวม (ผลรวมของคะแนนที่ไดตั้งแตระดับที่ 1 จนถึงระดับที่คาดหวัง

ผลการประเมินสมรรถนะ ที่จะนําไปบันทึกในระบบ PMS Online (คะแนนรวม ÷ ระดับที่คาดหวัง )

C4 การมุ่งผลสัมฤทธิ� (Achievement Motivation)คําจํากัดความ : ความมุ่งมั�นและตั�งใจจะปฏิบัติหน้าที�ราชการให้ดีมีประสิทธิผล หรือให้เกินมาตรฐานที�มีอยู่ โดยมาตรฐานนี�อาจเป็นผลการปฏิบัติงานที�ผ่านมาของตนเอง หรือเกณฑ์วัดผลสัมฤทธิ�ที�ส่วนราชการกําหนดขึ�น และหมายรวมถึงการสร้างสรรค์พัฒนาผลงานหรือกระบวนการปฏิบัติงานตามเป้าหมายที�ยากและท้าทาย

ระดับที� 3

แสดงสมรรถนะระดับที� 2 และสามารถปรับปรุงวิธีการทํางานเพื�อให้ได้ผลงานที�มีประสิทธิภาพมากยิ�งขึ�น

ระดับ พฤติกรรมบ่งชี� ตัวชี�วัดหน่วย

นับเกณฑ์การประเมิน

ระดับที� 4

แสดงสมรรถนะระดับที� 3 และสามารถกําหนดเป้าหมาย รวมทั�งพัฒนางาน เพื�อให้ได้ผลงานที�โดดเด่น และ/หรือ เป็นผลงานใหม่ในหน่วยงาน

ระดับที� 5

แสดงสมรรถนะระดับที� 4 และกล้าตัดสินใจเพื�อบรรลุเป้าหมายของส่วนราชการและเกิดประโยชน์สูงสูดกับประชาชน

คะแนนที�ได้

ระดับที� 1

แสดงความพยายามในการปฏิบัติหน้าที�ราชการให้ดี

ระดับที� 2

แสดงสมรรถนะระดับที� 1 และสามารถทํางานได้ผลงานตามเป้าหมายที�วางไว้

Page 25: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน

สามารถสื�อสารด้วยการพูด และ/หรือการเขียน และจับประเด็น และ/หรือสรุปเนื�อหาความคิดเบื�องต้นได้

ระดับความพึงพอใจในพฤติกรรมการสื�อสารด้วยการพูด และหรือการเขียน และจับประเด็น /สรุปเนื�อหาความคิดเบื�องต้น

ระดับ พึงพอใจน้อยมาก(ค่าคะแนนเฉลี�ย

1-1.50 )

พึงพอใจน้อย(ค่าคะแนนเฉลี�ย

1.51-2.50)

พึงพอใจ(ค่าคะแนนเฉลี�ย

2.51-3.50)

พึงพอใจมาก(ค่าคะแนน

เฉลี�ย3.51-4.50)

พึงพอใจมากที�สุด(ค่าคะแนนเฉลี�ย

4.51-5)

สามารถสื�อสาร และแลกเปลี�ยนข้อมูลกับผู้เกี�ยวข้องกับงานให้เกิดความรู้ความเข้าใจที�ถูกต้องตรงกัน

ระดับความพึงพอใจในพฤติกรรมการสื�อสาร และแลกเปลี�ยนข้อมูลกับผู้เกี�ยวข้องกับงานให้เกิดความรู้ความเข้าใจที�ถูกต้องตรงกัน

ระดับ พึงพอใจน้อยมาก(ค่าคะแนนเฉลี�ย

1-1.50 )

พึงพอใจน้อย(ค่าคะแนนเฉลี�ย

1.51-2.50)

พึงพอใจ(ค่าคะแนนเฉลี�ย

2.51-3.50)

พึงพอใจมาก(ค่าคะแนน

เฉลี�ย3.51-4.50)

พึงพอใจมากที�สุด(ค่าคะแนนเฉลี�ย

4.51-5)

สามารถสร้าง และ/หรือรักษาความสัมพันธ์ที�ดีกับผู้ที�เกี�ยวข้องกับงานในหน่วยงาน ด้วยการริเริ�มกิจกรรมให้มีการติดต่อทางสังคมกับผู้เกี�ยวข้องกับงาน และเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมกับเครือข่ายในวงกว้างเพื�อเสริมสร้างมิตรภาพกับเพื�อนร่วมงาน ผู้รับบริการ หรือผู้อื�นที�เป็นประโยชน์ในงานได้

ระดับความพึงพอใจในพฤติกรรมการสร้าง และ/หรือรักษาความสัมพันธ์ที�ดีกับผู้ที�เกี�ยวข้องกับงานในหน่วยงาน

ระดับ พึงพอใจน้อยมาก(ค่าคะแนนเฉลี�ย

1-1.50 )

พึงพอใจน้อย(ค่าคะแนนเฉลี�ย

1.51-2.50)

พึงพอใจ(ค่าคะแนนเฉลี�ย

2.51-3.50)

พึงพอใจมาก(ค่าคะแนน

เฉลี�ย3.51-4.50)

พึงพอใจมากที�สุด(ค่าคะแนนเฉลี�ย

4.51-5)

สามารถสร้าง และ/หรือรักษาความสัมพันธ์ที�ดีกับเครือข่ายที�เกี�ยวข้องกับงาน ด้วยการริเริ�มกิจกรรมให้มีการติดต่อทางสังคม และเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมกับเครือข่ายในวงกว้างเพื�อเสริมสร้างมิตรภาพและส่งผลที�ดี เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานร่วมกันได้

ระดับความพึงพอใจในพฤติกรรมการสร้าง และ/หรือรักษาความสัมพันธ์ที�ดีกับเครือข่ายที�เกี�ยวข้องกับงาน

ระดับ พึงพอใจน้อยมาก(ค่าคะแนนเฉลี�ย

1-1.50 )

พึงพอใจน้อย(ค่าคะแนนเฉลี�ย

1.51-2.50)

พึงพอใจ(ค่าคะแนนเฉลี�ย

2.51-3.50)

พึงพอใจมาก(ค่าคะแนน

เฉลี�ย3.51-4.50)

พึงพอใจมากที�สุด(ค่าคะแนนเฉลี�ย

4.51-5)

สามารถรักษาความสัมพันธ์ฉันมิตรที�ดีกับเครือข่ายที�เกี�ยวข้องกับงานไว้ได้อย่างต่อเนื�อง แม้ไม่มีการติดต่อสัมพันธ์ฉันมิตรในเรื�องงานระหว่างกันแล้ว เพื�อส่งผลให้มีโอกาสติดต่อสัมพันธ์กันในงานอนาคตราบรื�นได้

ระดับความพึงพอใจในพฤติกรรมการสร้าง และ/หรือรักษาความสัมพันธ์ที�ดีกับเครือข่ายที�เกี�ยวข้องกับงานอย่างต่อเนื�อง

ระดับ พึงพอใจน้อยมาก(ค่าคะแนนเฉลี�ย

1-1.50 )

พึงพอใจน้อย(ค่าคะแนนเฉลี�ย

1.51-2.50)

พึงพอใจ(ค่าคะแนนเฉลี�ย

2.51-3.50)

พึงพอใจมาก(ค่าคะแนน

เฉลี�ย3.51-4.50)

พึงพอใจมากที�สุด(ค่าคะแนนเฉลี�ย

4.51-5)

C5 การมีนํ�าใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี�เป็นน้อง (Relationship)คําจํากัดความ : ความสามารถในการสื�อสาร สร้างและ/หรือรักษาความสัมพันธ์ในทางส่วนตัวและทางด้านสังคมที�ดีระหว่างผู้มีส่วนเกี�ยวข้องในงาน อย่างใกล้ชิดอย่างมีนํ�าใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี�น้องกัน ทั�งในระยะสั�นและระยะยาว เพื�อส่งผลให้เกิดความราบรื�นในกระบวนการติดต่อสื�อสาร เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อภารกิจของส่วนราชการ

ระดับที� 1

สื�อสารเรื�องงานในหน้าที� หรือภารกิจของหน่วยงานที�กําหนดไว้เป็นการทั�วไปได้

ระดับที� 2

คะแนนรวม (ผลรวมของคะแนนที่ไดตั้งแตระดับที่ 1 จนถึงระดับที่คาดหวัง

ผลการประเมินสมรรถนะ ที่จะนําไปบันทึกในระบบ PMS Online (คะแนนรวม ÷ ระดับที่คาดหวัง )

แสดงสมรรถนะระดับที� 3 และสร้างหรือรักษาการความสัมพันธ์ฉันมิตรทางสังคมกับเครือข่ายที�เกี�ยวข้องกับงาน

แสดงสมรรถนะระดับที� 2 และสื�อสารให้เกิดความร่วมมือร่วมใจในการทํางานร่วมกันเป็นทีม

เกณฑ์การประเมินคะแนนที�ได้

แนวทางการประเมิน กรณีมีผู้ร่วมประเมินมากกว่า 1 คน โดยดําเนินการ ดังนี� 1. ให้ผู้ร่วมประเมินแต่ละคนประเมินโดยการสังเกตพฤติกรรมการมีนํ�าใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี�เป็นน้อง (Relationship )ของผู้ถูกประเมิน แล้วให้คะแนนตามเกณฑ์การประเมิน 2. นําคะแนนที�ได้จากการประเมินมารวม แล้วหาค่าเฉลี�ย (Mean) ดังนี� ค่าคะแนนเฉลี�ยระดับความพึงพอใจ = (ผลรวมของคะแนนการประเมินทั�งหมด ÷ จํานวนผู้ประเมิน) 3. เปรียบเทียบค่าคะแนนเฉลี�ยระดับความพึงพอใจ ตามเกณฑ์การประเมินที�กรมควบคุมโรคกําหนด 4. ผู้ประเมินหลัก (ผู้บังคับบัญชา) นําผลที�ได้จากการร่วมประเมินมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา แล้วระบุคะแนนที�ได้ลงในแบบฟอร์ม ตัวอย่างการประเมิน : นาย ก เป็นข้าราชการระดับปฏิบัติการ ถูกประเมินสมรรถนะการมีนํ�าใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี�เป็นน้อง (Relationship ) โดยผู้ประเมิน ดังนี� 1) ประเมินตนเอง = พึงพอใจมากที�สุด (5 คะแนน) 2) หัวหน้างาน = พึงพอใจมาก (4 คะแนน) 3) เพื�อนร่วมงาน = พึงพอใจมาก (4 คะแนน) ดังนั�น ค่าเฉลี�ยระดับความพึงพอใจของนาย ก เท่ากับ 4.3 เมื�อเปรียบเทียบกับเกณฑ์การประเมิน แสดงว่านาย ก มีผลการประเมินสมรรถนะการมีนํ�าใจ ใจเปิดกว้าง เป็นพี�เป็นน้อง (Relationship ) อยู่ที�ระดับ 4 คะแนน จากนั�นผู้ประเมินหลัก (ผู้บังคับบัญชา) นําผลที�ได้จากการร่วมประเมินมาใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา แล้วระบุคะแนนที�ได้ลงในแบบฟอร์ม

ระดับที� 5

ระดับ พฤติกรรมบ่งชี�

ระดับที� 3

ตัวชี�วัด

ระดับที� 4

แสดงสมรรถนะระดับที� 1 และสรุปข้อมูล และสื�อความหมายกับผู้เกี�ยวข้องอย่างถูกต้อง

แสดงสมรรถนะระดับที� 4 และรักษาความสัมพันธ์ฉันมิตรในระยะยาว

หน่วยวัด

Page 26: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

1 คะแนน 2 คะแนน

3 คะแนน 4 คะแนน

5 คะแนน

ระดับที� 1สามารถทํางานตามมติของทีม และในส่วนของตนให้สําเร็จตามที�ได้รับมอบหมาย ด้วยการให้ข้อมูลที�เป็นประโยชน์ในการสนับสนุนการตัดสินใจแก่สมาชิกในทีม และรายงานความก้าวหน้าในการเข้าร่วมประชุม และ/หรือร่วมกิจกรรม และ/หรือปฏิบัติงานของทีมได้

ระดับความสําเร็จของการทําหน้าที�ของตนในทีมงานให้สําเร็จ

ขั�นตอน มีการขออนุมัติและเข้าร่วมประชุม และ/หรือร่วมกิจกรรม และ/หรือปฏิบัติงานของทีม ตามที�ได้รับมอบหมายด้วยวาจา และ/หรือเอกสารทางราชการ ทุกครั�ง

- แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีรายงานความก้าวหน้าด้วยวาจา และ/หรือรายงานสรุปผลการเข้าร่วมประชุม และ/หรือร่วมกิจกรรม และ/หรือปฏิบัติงานของทีมตามที�ได้รับมอบหมายเป็นเอกสารทางราชการ และรายงานดังกล่าวต้องครอบคลุมประเด็นการให้ข้อมูลที�เป็นประโยชน์ในการสนับสนุนการตัดสินใจของทีม ตามรอบหรือระยะเวลาที�หน่วยงานกําหนด

- แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีรายงานความก้าวหน้าด้วยวาจา และ/หรือรายงานสรุปผลการเข้าร่วมประชุม และ/หรือร่วมกิจกรรม และ/หรือปฏิบัติงานของทีมตามที�ได้รับมอบหมายเป็นเอกสารทางราชการ และรายงานดังกล่าวต้องครอบคลุมประเด็นการให้ข้อมูลที�เป็นประโยชน์ในการสนับสนุนการตัดสินใจของทีม ก่อนระยะเวลาที�หน่วยงานกําหนด

สามารถแสดงการให้ความร่วมมือกับผู้อื�นในทีมด้วยดี รวมทั�งกล่าวถึงเพื�อนร่วมงานในเชิงสร้างสรรค์ และแสดงความเชื�อมั�นในความสามารถของเพื�อนร่วมทีมทั�งต่อหน้าและลับหลัง

ระดับความสําเร็จของความร่วมมือในการทํางานกับเพื�อนร่วมงาน

ขั�นตอน มีแผนจัดการความรู้ในการทํางานร่วมกับเพื�อนร่วมงานเสนอผู้บังคับบัญชา

- แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีคะแนนความสําเร็จของผลตามแผนจัดการที�กําหนดไม่ตํ�ากว่าร้อยละ 90

- แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีรายงานความก้าวหน้า และ/หรือรายงานผล พร้อมปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเสนอผู้บังคับบัญชา

สามารถเข้าร่วมกิจกรรม สนับสนุนการทํางานงาน สร้างสัมพันธ์ ตัดสินใจและวางแผนร่วมกันของทีมอย่างต่อเนื�อง เพื�อสนับสนุนการทํางานรวมกันให้มีประสิทธิภาพยิ�งขึ�น

ระดับความสําเร็จของการประสานความร่วมมือของสมาชิกในทีม

ขั�นตอน มีแผนจัดการความรู้ในทีมงานที�ร่วม และ/หรือรับผิดชอบเสนอผู้บังคับบัญชา

- แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีคะแนนความสําเร็จของผลตามแผนจัดการความรู้ที�กําหนดไม่ตํ�ากว่าร้อยละ 90

- แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีรายงานความก้าวหน้า และ/หรือรายงานผล พร้อมปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในที�ประชุมหน่วยงาน และ/หรือเผยแพร่ในหน่วยงาน

สามารถให้ความช่วยเหลือเกื�อกูล ยกย่อง ให้กําลังใจอย่างจริงใจ และรักษามิตรภาพอันดีกับเพื�อนร่วมทีม เพื�อให้งานประสบความสําเร็จได้

ระดับความสําเร็จของการแสดงการสนับสนุน ช่วยเหลือเพื�อนร่วมทีม เพื�อให้งานประสบความสําเร็จ

ขั�นตอน มีการแสดงความคิดเห็น การให้ข้อเสนอแนะ และ/หรือรายงานผลการสนับสนุน ช่วยเหลือการจัดการความรู้ของทีมงานที�รับผิดชอบ เสนอผู้บริหาร

- แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีคะเเนนความสําเร็จของผลการปฏิบัติงานตามแผนจัดการความรู้ของทีมงานที�รับผิดชอบไม่ตํ�ากว่าร้อยละ 90

- แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีรายงานความก้าวหน้า และ/หรือรายงานผล พร้อมปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในที�ประชุม และ/หรือเผยแพร่ในวารสารวิชาการ

สามารถให้คําปรึกษา คลี�คลาย หรือแก้ไขข้อขัดแย้งที�เกิดในทีม เสริมสร้างความสามัคคี ประสานสัมพันธ์ และสร้างขวัญกําลังใจของทีม เพื�อปฏิบัติภารกิจของส่วนราชการให้บรรลุผล

ระดับความสําเร็จของความสามารถนําทีมให้ปฏิบัติภารกิจให้ได้ผลสําเร็จ

ขั�นตอน มีการแสดงการตัดสินใจ และ/หรือการคลี�คลายแก้ไขข้อขัดแย้งที�เกิดในทีม และ/หรือรายงานผลการการให้ปรึกษาเสนอผู้บริหาร

- แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีส่วนร่วมในการจัดการความรู้ของส่วนราชการที�รับผิดชอบให้บรรลุผลสําเร็จ

- แสดงพฤติกรรมตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีคะเเนนความสําเร็จของค่าเฉลี�ยผลรวมการปฏิบัติงานตามแผนที�กําหนด ไม่ตํ�ากว่าร้อยละ 90

คะแนนรวม (ผลรวมของคะแนนที่ไดตั้งแตระดับที่ 1 จนถึงระดับที่คาดหวังผลการประเมินสมรรถนะ ที่จะนําไปบันทึกในระบบ PMS Online (คะแนนรวม ÷ ระดับที่คาดหวัง )

C6 การทํางานเป็นทีม ( Teamwork )คําจํากัดความ : ความตั�งใจที�จะทํางานร่วมกับผู้อื�น เป็นส่วนหนึ�งของทีม หน่วยงาน หรือส่วนราชการ โดยผู้ปฏิบัติมีฐานะเป็นสมาชิก ไม่จําเป็นต้องมีฐานะหัวหน้าทีม รวมทั�งความสามารถในการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับสมาชิกในทีม

ระดับที� 3 แสดงสมรรถนะระดับที� 2 และประสานความร่วมมือของสมาชิกในทีม

ระดับ พฤติกรรมบ่งชี� ตัวชี�วัด หน่วยวัดเกณฑ์การประเมิน

ระดับที� 4 แสดงสมรรถนะระดับที� 3 และสนับสนุน ช่วยเหลือเพื�อนร่วมทีม เพื�อให้งานประสบความสําเร็จ

ระดับที� 5 แสดงสมรรถนะระดับที� 4 และสามารถนําทีมให้ปฏิบัติภารกิจให้ได้ผลสําเร็จ

คะแนนที�ได้

ทําหน้าที�ของตนในทีมงานให้สําเร็จ

ระดับที� 2 แสดงสมรรถนะระดับที� 1 และให้ความร่วมมือในการทํางานกับเพื�อนร่วมงาน

Page 27: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน

- สามารถระบุและอธิบายสภาพของปัญหาและแนวโน้ม การตั�งสมมติฐาน และ/หรืออธิบายสาเหตุหรือปัจจัยของปัญหา ในขอบเขตงานที�ตนเองรับผิดชอบ

ระดับความสําเร็จของการแสดงความรู้ ความเข้าใจในหลักระบาดวิทยาประยุกต์สําหรับงานเชิงบริหารจัดการ

ขั�นตอน มีการระบุประเด็นปัญหาที�พบในปัจจุบัน และ/หรือ อาจเกิดขึ�นได้ในอนาคต ภายใต้ขอบเขตงานที�ตนเองรับผิดชอบ

- มีสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีการอธิบายสภาพปัญหา ตามเวลา สถานที� และบุคคล (Time-Place-Person หรือ When Where Who)

- มีสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีการอธิบายการตั�งสมมติฐาน และ/หรือ อธิบายสาเหตุหรือกําหนดปัจจัยที�เกี�ยวข้องกับปัญหานั�นๆ ในเบื�องต้น

- สามารถระบุและจัดการข้อมูลสารสนเทศที�จะจัดเก็บ เพื�อใช้ในการศึกษา และ/หรือ การเฝ้าระวัง และ/หรือ การกํากับติดตามสถานการณ์และปัญหาที�พบ ในขอบเขตงานที�ตนเองรับผิดชอบ

ระดับความสําเร็จของการแสดงความสามารถในการใช้ หลักระบาดวิทยาประยุกต์สําหรับงานเชิงบริหารจัดการ ในขอบเขตงานที�ตนเองรับผิดชอบ

ขั�นตอน มีการกําหนดหัวข้อหรือประเด็นปัญหา ที�จะนํามา ศึกษา และ/หรือ เฝ้าระวัง และ/หรือ กํากับติดตาม โดยอธิบายถึงความสําคัญและความจําเป็นในการเลือกหัวข้อหรือประเด็นดังกล่าว

มีสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีการระบุถึงรายการ (Listing) ข้อมูลสารสนเทศที�จะจัดเก็บเพื�อใช้ใน การศึกษา และ/หรือ การเฝ้าระวัง และ/หรือ การกํากับติดตาม สถานการณ์และปัญหา

มีสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 2 คะแนน และมีการระบุ 1) คุณสมบัติหรือคุณลักษณะ 2) วิธีการหรือแนวทางในการจัดเก็บ 3) ข้อจํากัด และ 4) แหล่งที�มา ของข้อมูลที�จะจัดเก็บเพื�อใช้ใน การศึกษา และ/หรือ การเฝ้าระวัง และ/หรือ การกํากับติดตาม สถานการณ์และปัญหา

มีสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีการมีการระบุวิธีการ (Methodology) และกระบวนการ (Process) ในการศึกษา และ/หรือ การเฝ้าระวัง และ/หรือ การกํากับติดตาม สถานการณ์และปัญหา

มีสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 4 คะแนน และมีการแสดงผล และ/หรือ รายงานความก้าวหน้า ในการศึกษา และ/หรือ การเฝ้าระวัง และ/หรือ การกํากับติดตาม สถานการณ์และปัญหา

สามารถนําผลจากการศึกษาสถานการณ์และปัญหา ไปปรับปรุง/พัฒนา ระบบ และ/หรือ กระบวนงาน ภายในหน่วยงาน

ระดับความสําเร็จของการนําผลจากการศึกษาสถานการณ์และปัญหาไปปรับปรุง/พัฒนา ระบบ และ/หรือ กระบวนงาน ภายในหน่วยงาน

ขั�นตอน มีการแสดงผล และ/หรือ รายงานความก้าวหน้า ในการศึกษา และ/หรือ การเฝ้าระวัง และ/หรือ การกํากับติดตามสถานการณ์และปัญหา พร้อมระบุปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

- มีสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีการนําผลที�ได้ดังกล่าวไปปรับปรุง/พัฒนา ระบบ และ/หรือ กระบวนงาน ภายในหน่วยงาน

- มีสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีการแสดงผล และ/หรือ รายงานความก้าวหน้า ในการปรับปรุง/พัฒนา ระบบ และ/หรือ กระบวนงานภายในหน่วยงาน เสนอผู้บังคับบัญชาในหน่วยงาน

สามารถเสนอมาตรการในการแก้ไขและป้องกันปัญหาในงานเชิงบริหารจัดการในระดับหน่วยงาน โดยแสดงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของมาตรการนั�นๆ พร้อมทั�งสามารถให้คําปรึกษาได้

ระดับความสําเร็จในการพัฒนามาตรการ ในการแก้ไขและป้องกันปัญหา ในงานเชิงบริหารจัดการ ในระดับหน่วยงาน

ขั�นตอน มีการเสนอมาตรการในการแก้ไขและป้องกันปัญหา ในงานเชิงบริหารจัดการ ในระดับหน่วยงาน

- มีสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีการแสดงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของมาตรการในการแก้ไขและป้องกันปัญหาตามที�เสนอ

- มีสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีการแสดงความเห็น และ/หรือ มีผลงานการให้คําปรึกษาเกี�ยวกับมาตรการในการแก้ไขและป้องกันปัญหา ในงานเชิงบริหารจัดการ

สามารถเสนอมาตรการเชิงนโยบายในงานเชิงบริหารจัดการในระดับกรม และ/หรือ ระดับกระทรวง โดยแสดงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของมาตรการนั�นๆ พร้อมทั�งสามารถให้คําปรึกษาได้

ระดับความสําเร็จของการผลักดันให้เป็นนโยบาย ในงานเชิงบริหารจัดการ ในระดับกรม และ/หรือ ระดับกระทรวง

ขั�นตอน มีการเสนอมาตรการเชิงนโยบาย ในงานเชิงบริหารจัดการ ในระดับกรม และ/หรือ ระดับกระทรวง

- มีสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีการแสดงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของมาตรการเชิงนโยบายตามที�เสนอ

- มีสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีการแสดงความเห็น และ/หรือมีผลงานการให้คําปรึกษา เกี�ยวกับมาตรการเชิงนโยบาย ในงานเชิงบริหารจัดการ

คะแนนรวม (ผลรวมของคะแนนที่ไดตั้งแตระดับที่ 1 จนถึงระดับที่คาดหวังผลการประเมินสมรรถนะ ที่จะนําไปบันทึกในระบบ PMS Online (คะแนนรวม ÷ ระดับที่คาดหวัง )

หลักระบาดวิทยาประยุกต์สําหรับงานเชิงบริหารจัดการ (Applied Epidemiology for Management and Administration) (สําหรับสายสนับสนุน)คําจํากัดความ : ความสามารถในการระบุปัญหา อธิบายสภาพของปัญหาและแนวโน้ม การสืบค้นหาสาเหตุและปัจจัยที�แท้จริงของปัญหา การกําหนดข้อมูลสารสนเทศที�จําเป็นต้องจัดเก็บเพื�อใช้ในการศึกษา และ/หรือ การเฝ้าระวัง และ/หรือ การกํากับติดตาม สถานการณ์และปัญหา การเลือกวิธีการและกระบวนการในการศึกษาสถานการณ์และปัญหา การวิเคราะห์/สังเคราะห์ การแปรผล และการนําเสนอผลการศึกษาสถานการณ์และปัญหา การกําหนดมาตรการและแนวทางในการแก้ไขและป้องกันปัญหา

ระดับที� 3

แสดงสรรถนะระดับที� 2 และสามารถนําผลจากการศึกษาสถานการณ์และปัญหา ไปปรับปรุง/พัฒนา ระบบ และ/หรือ กระบวนงาน ภายในหน่วยงาน

ระดับ พฤติกรรมบ่งชี� ตัวชี�วัด หน่วยนับเกณฑ์การประเมิน

ระดับที� 4

แสดงสรรถนะระดับที� 3 และสามารถพัฒนามาตรการในการแก้ไขและป้องกันปัญหาในงานเชิงบริหารจัดการ ในระดับหน่วยงาน

ระดับที� 5

แสดงสรรถนะระดับที� 4 และผลักดันให้เป็นนโยบายในงานเชิงบริหารจัดการ ในระดับกรม และ/หรือ ระดับกระทรวง

คะแนนที�ได้

ระดับที� 1

แสดงความรู้ ความเข้าใจใน "หลักระบาดวิทยาประยุกต์สําหรับงานเชิงบริหารจัดการ"

ระดับที� 2

แสดงสมรรถนะระดับที� 1 และแสดงความสามารถในการใช้ "หลักระบาดวิทยาประยุกต์สําหรับงานเชิงบริหารจัดการ" ในการปฏิบัติงาน

Page 28: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน

สามารถระบุแหล่งข้อมูล การสืบค้นข้อมูล การนําเสนอข้อมูลจากการสืบค้นให้เป็นระบบ และระบุสถิติที�ใช้ในแต่ละประเภทของการวิจัยได้

ระดับความสําเร็จของการแสดงความรู้ ความเข้าใจในหลักการวิจัยและพัฒนาเบื�องต้น

ขั�นตอน มีการแสดงการระบุแหล่งข้อมูลและช่องทางในการสืบค้น

มีสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีการแสดงการสืบค้นข้อมูล

มีสรรถนะตามที�ระบุในช่อง 2 คะแนน และมีการแสดงข้อมูลจากการสืบค้น

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีการแสดงการจัดหมวดหมู่ของข้อมูลที�สืบค้นมาให้เป็นระบบ

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 4 คะแนน และมีการแสดงการระบุสถิติพื�นฐานที�ใช้ในแต่ละประเภทของงานวิจัย

สามารถกําหนดโจทย์และดําเนินการวิจัยเชิงพรรณนาได้

ระดับความสําเร็จของความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการวิจัยและพัฒนาเบื�องต้น

ขั�นตอน มีรายงานการทบทวนวรรณกรรม (Literature Review)

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีรายงานสรุปประเด็นปัญหาที�นําไปสู่โจทย์การวิจัยและพัฒนาเบื�องต้น

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 2 คะแนน และมีการนําเสนอการใช้ข้อมูลทางสถิติ และ/หรือใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สําเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูล

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีเครื�องมือ และ/หรือมีการใช้เครื�องมือเพื�อการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพได้อย่างถูกต้อง

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 4 คะแนน และมีรายงานความก้าวหน้า และ/หรือผลการวิจัยเชิงพรรณนา

สามารถทบทวน วิเคราะห์ สังเคราะห์ บริหารจัดการโครงการวิจัยและพัฒนาได้

ระดับความสําเร็จของความสามารถในการเป็นผู้วิจัยหลัก และ/หรือร่วมในการวิจัยและพัฒนา

ขั�นตอน มีการแสดงหัวข้อวิจัยได้ตรงกับสภาพปัญหาโรคและภัยสุขภาพ และ/หรือปัญหาสาธารณสุข และ/หรือพัฒนาระบบงาน

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีการนําเสนอโครงร่างงานวิจัยและพัฒนา (Proposal)

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 2 คะแนน และมีรายงานผลการควบคุม กํากับ การบริหารจัดการตามแผนการดําเนินงาน (Gantt chart) โครงการวิจัยและพัฒนา

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีรายงานความก้าวหน้า และ/หรือ ผลงานวิจัยและพัฒนา พร้อมปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 4 คะแนน และมีรายงานความก้าวหน้า และ/หรือผลการวิจัยและพัฒนา ในที�ประชุมของหน่วยงาน และ/หรือระดับเขต และ/หรือเผยแพร่ตีพิมพ์

สามารถจัดการและนําเสนอข้อค้นพบที�ได้จากงานวิจัยและพัฒนาที�นําไปสู่การพัฒนาขั�นตอน และ/หรือวิธีการทํางาน และ/หรือระบบให้เกิดผลในเชิงปฏิบัติได้

ระดับความสําเร็จของการแสดงความเชี�ยวชาญในการวิจัยและพัฒนา

ขั�นตอน มีการดําเนินการวิจัยเชิงวิเคราะห์ และ/หรือวิจัยเชิงทดลองและ/หรือวิจัยประเมินผล

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีการนําผลการวิจัยมากําหนดมาตรการเพื�อการป้องกัน ควบคุมโรค /ภัยสุขภาพ และ/หรือนําผลการวิจัยมากําหนดมาตรฐานในการปฏิบัติงาน

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 2 คะแนน และมีแหล่งทุนอื�น และ/หรือแหล่งทุนภายนอก เพื�อทําการวิจัยและพัฒนา

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีการดําเนินการวิจัยในเชิง สหสถาบัน(Multi Center) หรือเชิงสหวิชาชีพ(Multi Secteral)

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 4 คะแนน และมีรายงานความก้าวหน้า และ/หรือเผยแพร่ผลการวิจัยในที�ประชุมวิชาการ และ/หรือตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับประเทศ

สามารถให้คําปรึกษา จัดการและนําเสนอข้อค้นพบที�ได้จากงานวิจัยและพัฒนาที�นําไปสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

ระดับความสําเร็จของการนําผลการวิจัยและพัฒนาสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

ขั�นตอน มีการแสดงและ/หรือมีรายงานผล การให้คําปรึกษาการจัดทําแผนแม่บทการวิจัย (Research Map) และกําหนดกรอบทิศทางการวิจัยด้านการป้องกันควบคุมโรค/ภัยสุขภาพ และ/หรือด้านสาธารณสุข

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีผลการประเมินคุณภาพ(Quality) ผลงานวิจัย และให้การรับรองผลการวิจัยก่อนผลักดันไปสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 2 คะแนน และมีการนําผลการวิจัยมากําหนดเป็นแผนกลยุทธ์ และ/หรือให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค/ภัยสุขภาพ และ/หรือด้านสาธารณสุข

แสดงสมรรถสะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีรายงานความก้าวหน้า และ/หรือเผยแพร่ผลการวิจัยนําเสนอในที�ประชุมวิชาการ และ/หรือตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 4 คะแนน และเป็นผู้แทนประเทศไทยด้านการป้องกันควบคุมโรค/ภัยสุขภาพ ในเวทีวิจัยระดับนานาชาติ

ผลการประเมินสมรรถนะ ที่จะนําไปบันทึกในระบบ PMS Online (คะแนนรวม ÷ ระดับที่คาดหวัง )

การวิจัยและพัฒนา (Research and Development/R2R)คําจํากัดความ : ความสามารถในการปฏิบัติงานด้านวิจัยที�เน้นการแสวงหาผลิตภัณฑ์ใหม่ (New product) สิ�งประดิษฐ์ใหม่ (New inventions) การพัฒนากระบวนการ(Process) การพัฒนาระบบและวิธีทํางาน (System and procedures) และ/หรือเทคโนโลยีใหม่ๆ (New technologies) โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน(Research-base development) สําหรับการพัฒนาการปฏิบัติราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ�

ระดับที� 3 แสดงสมรรถนะระดับที� 2 และแสดงความสามารถในการเป็นผู้วิจัยหลักในการวิจัยและพัฒนา

ระดับ พฤติกรรมบ่งชี� ตัวชี�วัดหน่วย

นับ

เกณฑ์การประเมิน

คะแนนรวม (ผลรวมของคะแนนที่ไดตั้งแตระดับที่ 1 จนถึงระดับที่คาดหวัง

ระดับที� 4 แสดงสมรรถนะระดับที� 3 แสดงความเชี�ยวชาญในการวิจัยและพัฒนา

ระดับที� 5 แสดงสมรรถนะระดับที� 4 และการนําผลการวิจัยและพัฒนาสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

คะแนนที�ได้

ระดับที� 1 แสดงความรู้ ความเข้าใจในหลักการวิจัยและพัฒนาเบื�องต้น

ระดับที� 2 แสดงสมรรถนะระดับที� 1 และแสดงความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการวิจัยและพัฒนาเบื�องต้น

Page 29: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน

สามารถเก็บรวบรวม และนําเสนอข้อมูลการปฏิบัติงานตามงาน และ/หรือกิจกรรม และ/หรือโครงการที�ได้รับมอบหมาย เพื�อใช้กํากับ ติดตามและประเมินผลเบื�องต้นได้

ระดับความสําเร็จของการแสดงความรู้ ความเข้าใจการติดตามและประเมินผลระดับพื�นฐาน

ขั�นตอน มีแผนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามที�ได้รับมอบหมาย (ตามแบบติดตามผลการปฏิบัติงาน)

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีการดําเนินการตามแผนการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานตามที�ได้รับมอบหมาย

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 2 คะแนน และมีรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานตามแผนติดตามและประเมินผลที�กําหนด (ตามแบบติดตามผลการปฏิบัติงาน)

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนนและมีการระบุปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ และเสนอผู้บังคับบัญชา ตามเวลาที�หน่วยงานกําหนด (ตามแบบติดตามผลการปฏิบัติงาน)

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 4คะแนน ก่อนเวลาที�หน่วยงานกําหนด

สามารถติดตามและประเมินผลงาน และ/หรือกิจกรรม และ/หรือ โครงการของตน โดยใช้ความรู้ด้านการติดตามและประเมินผลได้

ระดับความสําเร็จของการปฏิบัติงานด้านการติดตามและประเมินผล

ขั�นตอน มีการอธิบายด้วยวาจา และ/หรือนําเสนอข้อมูลเป็นลายลักษณ์อักษรเกี�ยวกับความหมาย วิธีการ และเครื�องมือที�ใช้ในการติดตามและประเมินงาน และ/หรือกิจกรรม และ/หรือ โครงการนําเสนอผู้บังคับัญชา

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีรายงานความก้าวหน้าของผลการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน และ/หรือกิจกรรม และ/หรือโครงการของตน

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 2 คะแนน และมีการระบุปัญหาอุปสรรคในการดําเนินงาน การแก้ไขปัญหาที�ได้ดําเนินการ และแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาจากการปฏิบัติงานและ/หรือกิจกรรม และ/หรือโครงการ

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และเสร็จก่อนระยะเวลาที�หน่วยงานกําหนด

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 4 คะแนน และมีการนําเสนอในที�ประชุมหน่วยงาน และ/หรือเผยแพร่ในระดับหน่วยงาน

สามารถให้คําแนะนํา ทบทวน วิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดการการติดตามและประเมินแผน/โครงการได้

ระดับความสําเร็จของการเป็นผู้ติดตามและประเมินแผน/โครงการ

ขั�นตอน มีการแสดงการให้คําแนะนํา และ/หรือตอบข้อซักถาม และ/หรือมีผลงานการให้คําแนะนําเกี�ยวกับเทคนิค วิธีการ และการใช้เครื�องมือในการติดตามและประเมินแผน/โครงการ

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีการดําเนินการประเมินแผน/โครงการ

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 2 คะแนน และมีรายงานความก้าวหน้าพร้อมระบุปัญหาอุปสรรคและแนวทางพัฒนาการติดตามและประเมินผลแผน/โครงการ

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีการประเมินความคุ้มค่าและ/หรือผลกระทบของงานและ/หรือแผน/โครงการ

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 4 คะแนนและมีรายงานความก้าวหน้าและ/หรือนําเสนอผลที�ได้ในที�ประชุมวิชาการ และ/หรือตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

สามารถให้คําปรึกษาเชิงปฏิบัติ และประยุกต์ใช้รูปแบบการประเมินผลแผน/โครงการได้

ระดับความสําเร็จของการแสดงความเชี�ยวชาญการประยุกต์ใช้รูปแบบการติดตามและประเมินผล

ขั�นตอน มีการแสดงการให้คําปรึกษา และ/หรือตอบข้อซักถาม และ/หรือมีรายงานผลงานการให้คําปรึกษาเกี�ยวกับรูปแบบ (Model) เทคนิค วิธีการ การใช้เครื�องมือในการประเมินแผน/โครงการ

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และมีการดําเนินการประยุกต์ใช้รูปแบบการติดตามประเมินผลแผน/โครงการ

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 2 คะแนน และมีรายงานความก้าวหน้าพร้อมระบุปัญหาอุปสรรคและแนวทางพัฒนางานเสนอผู้บริหาร และ/หรือนําเสนอในที�ประชุม

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีการประเมินความคุ้มค่า และ/หรือผลกระทบของแผน/โครงการ และเสนอทางเลือกการพัฒนางานในที�ประชุม

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อ 4 คะแนน และมีรายงานความก้าวหน้าและข้อเสนอการพัฒนาแผน/โครงการ และ/หรือตีพิมพ์ในวารสารระดับประเทศ

สามารถให้คําปรึกษาเชิงนโยบาย จัดการและนําเสนอข้อค้นพบที�ได้จากการติดตามประเมินผลสู่ข้อเสนอเชิงนโยบาย

ระดับความสําเร็จของการนําผลการติดตามและประเมินผลสู่ข้อเสนอเชิงนโยบาย

ขั�นตอน มีการแสดงการให้คําปรึกษา และ/หรือตอบข้อซักถาม และ/หรือมีรายงานผลการให้คําปรึกษาการจัดทําแผน การกําหนดกรอบทิศทาง วิธีการวิเคราะห์การติดตามประเมินผลยุทธศาสตร์การป้องกันควบคุมโรค/ภัยสุขภาพ และ/หรือด้านสาธารณสุข

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 1 คะแนน และ มีการดําเนินการติดตาม กํากับ ประเมินคุณภาพ(Quality) มาตรฐาน และ/หรือมาตรการ และ/หรือแนวทาง และ/หรือคู่มือการป้องกันควบคุมโรค/ภัยสุขภาพ และ/หรือด้านสาธารณสุข ไปสู่ข้อเสนอเชิงนโยบาย

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 2 คะแนน และมีรายงานความก้าวหน้า และ/หรือรายงานผลนําเสนอเป็นทางเลือกเชิงยุทธศาสตร์ (Strategy Options) ในที�ประชุม

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 3 คะแนน และมีการดําเนินการประเมินความคุ้มค่า และ/หรือผลกระทบเชิงยุทธศาสตร์และเสนอทางเลือกเชิงนโยบายในที�ประชุม

แสดงสมรรถนะตามที�ระบุในช่อง 4 คะแนน และมีการนําเสนอความก้าวหน้า และ/หรือมีรายงานผลในที�ประชุม และ/หรือตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ

คะแนนรวม (ผลรวมของคะแนนที่ไดตั้งแตระดับที่ 1 จนถึงระดับที่คาดหวัง

ผลการประเมินสมรรถนะ ที่จะนําไปบันทึกในระบบ PMS Online (คะแนนรวม ÷ ระดับที่คาดหวัง )

แสดงสมรรถนะระดับที� 1 และ แสดงความสามารถในการปฏิบัติงานด้านการติดตามและประเมินผล

ระดับที� 3

แสดงสมรรถนะระดับที� 2 และสามารถเป็นผู้ติดตามและประเมินแผน/โครงการ

ระดับ พฤติกรรมบ่งชี� ตัวชี�วัดหน่วย

นับ

เกณฑ์การประเมิน

การติดตามและประเมินผล (Monitoring and Evaluation)คําจํากัดความ : ความสามารถในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ ตรวจสอบความก้าวหน้า กํากับ ติดตาม ประเมินผล การปฏิบัติงาน กิจกรรม โครงการ แผน และนโยบาย ตลอดจนการประเมินความคุ้มค่าและผลกระทบ เพื�อประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารในการกําหนดและผลักดันเป็นนโยบาย มาตรการ มาตรฐาน แนวทาง คู่มือในการพัฒนางานที�เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานและหน่วยงานที�เกี�ยวข้อง

ระดับที� 4

แสดงสมรรถนะระดับที� 3 แสดงความเชี�ยวชาญการประยุกต์ใช้รูปแบบการติดตามและประเมินผล

ระดับที� 5

แสดงสมรรถนะระดับที� 4 และการนําผลการติดตามและประเมินผลสู่ข้อเสนอเชิงนโยบาย

คะแนนที�ได้

ระดับที� 1

แสดงความรู้ ความเข้าใจการติดตามและประเมินผลระดับพื�นฐาน

ระดับที� 2

Page 30: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ
Page 31: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

แผน ผล แผน ผล แผน ผล แผน ผล แผน ผล แผน ผล

1

2

3

ผูรับการประเมิน

เดือน............เดือน............ เดือน............ เดือน............ เดือน............ เดือน............

สรุปผลการดําเนินงาน :

ลงชื่อ...................................................................วันที่ ...................................................................

ลงชื่อ.........................................................วันที่ .........................................................

แบบติดตามผลการปฏิบัติงาน

ขอเสนอแนะ :

ปญหาอุปสรรค :

งาน/กิจกรรม/โครงการ หนวยนับ เปาหมาย

ไตรมาสที่........ ไตรมาสที่........

ผูประเมิน

รอบที่ 1 (1 ต.ค. - 31 มี.ค.) รอบที่ 2 (1 เม.ย. - 30 ก.ย.)

Page 32: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

แบบรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report: SAR) ผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของหนวยงาน

กรมควบคมุโรค ประจําปงบประมาณ พ.ศ. .................

แบบฟอรมสําหรับตัวชี้วัดท่ีเปนเชิงคุณภาพ / ั้

หนวยงาน : รอบ 6 เดือน

รอบ 12 เดือน

ตัวช้ีวัดท่ี : มิติท่ี :

ผูกํากับดูแลตัวช้ีวัด : ผูจัดเก็บขอมูล :

โทรศัพท : โทรศัพท :

คําอธิบายตัวช้ีวัด :

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับข้ันของความสําเร็จ (Milestone) แบงเกณฑการใหคะแนนเปน 5 ระดับ พิจารณาจากความกาวหนาของข้ันตอนการดําเนินงานตามเปาหมายแตละระดับดังนี้

คะแนน เกณฑการใหคะแนน 1 ข้ันตอนท่ี 1 2 ข้ันตอนท่ี 1+2 3 ข้ันตอนท่ี 1+2+3 4 ข้ันตอนท่ี 1+2+3+4 5 ข้ันตอนท่ี 1+2+3+4+5

รายละเอียดขอมูลพ้ืนฐาน:

ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวช้ีวัด หนวยวัด ผลการดําเนินงานในอดีต ปงบประมาณ พ.ศ.

2555 256 2557

Page 33: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

แบบรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report: SAR) ผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของหนวยงาน

กรมควบคมุโรค ประจําปงบประมาณ พ.ศ. .................

แบบฟอรมสําหรับตัวชี้วัดท่ีเปนเชิงคุณภาพ / ั้

ผลการดําเนินงาน : การคํานวณคะแนนจากผลการดําเนินงาน

ตัวช้ีวัด/ขอมูลพ้ืนฐานประกอบตัวช้ีวัด น้ําหนัก (รอยละ)

ผลการดําเนนิงาน

คาคะแนน ท่ีได

คาคะแนน ถวง

น้ําหนัก

ปจจัยสนับสนุนตอการดําเนินงาน : ปญหาอุปสรรคตอการดําเนินงาน :

ความตองการสนับสนุนจากสวนกลางและหนวยงานท่ีเกี่ยวของ : ขอเสนอแนะ : หลักฐานอางอิง :

ผูรายงาน

ลงชื่อ............................................................ วันท่ี ............................................................

Page 34: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

แบบรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report: SAR) ผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของหนวยงาน

กรมควบคุมโรค ประจําปงบประมาณ พ.ศ. .................

แบบฟอรมสําหรับตัวชี้วัดท่ีเปนเชิง

หนวยงาน : รอบ 6 เดือน รอบ 12 เดือน

ตัวช้ีวัดท่ี : มิติท่ี

ผูกํากับดูแลตัวช้ีวัด : ผูจัดเก็บขอมูล :

โทรศัพท : โทรศัพท :

คําอธิบายตัวช้ีวัด : สูตรการคํานวณ : การคํานวณคะแนนจากผลการดําเนินงาน : คําช้ีแจงการปฏิบัติงาน/มาตรการท่ีไดดําเนินการ :

Page 35: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

แบบรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report: SAR) ผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการของหนวยงาน

กรมควบคุมโรค ประจําปงบประมาณ พ.ศ. .................

แบบฟอรมสําหรับตัวชี้วัดท่ีเปนเชิง

ปจจัยสนับสนุนตอการดําเนินงาน : อุปสรรคตอการดําเนินงาน : ความตองการสนับสนุนจากสวนกลางและหนวยงานท่ีเกี่ยวของ : ขอเสนอแนะ : หลักฐานอางอิง :

ผูรายงาน

ลงชื่อ............................................................ วันท่ี ............................................................

Page 36: cvc,l ltJl~lEJosc.ddc.moph.go.th/document/plan/หลักเกณฑ์และ...\IIanLnru"m\~15n1'3'1.h~LiJ'IJ~g'tn1'3t1~mi'31,.n1'3'IJ£l.:l;;1'31"n1'3'V'1g'tL~£l'IJa1:UqJ

คํานิยาม ประกอบการประเมินสมรรถนะ

การส่ังสมความเช่ียวชาญ (Mastery : M)

• วิธีปฏิบัติงาน/วิธีการทํางาน (Work Instruction) วิธีการปฏิบัติงานจะมีรายละเอียดวิธีการทํางาน

เฉพาะ หรือแตละข้ันตอนยอยของกระบวนการ เปนขอมูลเฉพาะ คําแนะนําในการทํางานและรวมท้ังวิธีท่ีองคกร

ใชในการปฏิบัติงานโดยละเอียด โดยวิธีจัดทําเอกสารมีลักษณะดังนี ้

1) มีการระบุถึงวัตถุประสงค 2) ไมมีโครงสรางท่ีชัดเจน เขียนไดหลายลักษณะตามความเหมาะสมของงาน 3) ควรเขียนใหเขาใจงาย มีความยืดหยุนและรัดกุม 4) ใชคําศัพทใหเหมาะสมกับผูใชงานเอกสาร

5) อาจเปนขอความ Flow chart รูปภาพ รูปการตูน หรือวีดิโอ

• ระเบียบปฏิบัติ (Procedure) /คูมือการปฏิบัติงาน (Work Manual) : เปรียบเสมือนแผนท่ีบอกเสนทาง

การทํางานท่ีมีจุดเริ่มตนและสิ้นสุดของกระบวนการ ซ่ึงจะระบุถึงข้ันตอนและรายละเอียดของกระบวนการตางๆ

ขององคกรและวิธีควบคุมกระบวนการนั้น จัดทําข้ึนสําหรับลักษณะงานท่ีซับซอน มีหลายข้ันตอนและเก่ียวของกับ

คนหลายคน และสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไดเม่ือมีการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงาน โดยจะมีประกอบดวย

องคประกอบท่ีสําคัญ ดังนี้

1) วัตถุประสงค

2) ขอบเขต

3) คําจํากัดความ

4) ความรับผิดชอบ

5) ระเบียบปฏิบัติ (ข้ันตอน)

6) เอกสารอางอิง

7) แบบฟอรมท่ีใช

8) เอกสารบันทึก

• คูมือคุณภาพ (Quality Manual) : เอกสารท่ีระบุนโยบายจุดมุงหมายดานคุณภาพ ระบบคุณภาพและ

การปฏิบัติงานอยางมีคุณภาพขององคการ เพ่ือใหมีการจัดทําและรักษาระบบคุณภาพท่ีเหมาะสมกับประเภทและ

กิจกรรมของระบบคุณภาพ ตามหัวขอตางๆ ท่ีระบุไวในเอกสาร โดยคูมือคุณภาพจะประกอบดวยองคประกอบท่ี

สําคัญ ดังนี้

1) วัตถุประสงค

2) นโยบายคุณภาพท่ีผูบริหารระดับสูงใหมีการดําเนินการภายในองคกร

3) อธิบายโครงสรางขององคกร การบริหารจัดการขององคกร

4) อธิบายกฎระเบียบ ความรับผิดชอบของผูบริหารอํานาจหนาท่ีความรับผิดชอบของบุคลากรใน

หนวยงานท่ีเก่ียวของกับระบบคุณภาพ

5) การอางอิงถึงข้ันตอนการปฏิบัติงาน

6. คุณภาพความเหมาะสมลักษณะงานองคกร